15 August 2009

Aktivitas Politik Imam Hasan Al-Banna

Imam Hasan Al-Banna memimpin demonstrasi yang diprakarsai oleh Al-Azhar menuntut penyelesaian segera masalah-masalah yang menimpa Mesir. Aktifitas-aktifitas politik yang pernah Beliau lakukan bersama para ikhwah, di antaranya: a. Di sela-sela keberangkatan Naqrasy menemui Dewan Keamanan PBB, Imam Hasan Al-Banna mengundang seluruh lapisan masyarakat Mesir untuk mendatangi masjid-masjid sewaktu pelaksanaan shalat zhuhur untuk mendengarkan orasi umum membahas sengketa lembah sungai Nil, kemudian Imam Hasan Al-Banna memimpin demonstrasi yang diprakarsai oleh Al-Azhar menuntut penyelesaian segera masalah-masalah yang menimpa Mesir. b. Imam Hasan Al-Banna mengirimkan telegram pada Naqrasyi guna memprioritaskan penundaan pembahasan sengketa lembah sungai Nil dan menuntutnya agar fokus terlebih dahulu pada pembatalan perjanjian 1936, menabuh genderang “jihad” mengusir secara paksa penjajah Inggris dari tanah Mesir serta pernyatan bahwa Ikhwanul Muslimin telah siap maju ke medan jihad. c. Derasnya gelombang aksi protes, unjuk rasa dan demonstrasi rakyat Mesir membuat pemerintah Mesir dan pemerintah Inggris tertekan, sehingga memaksa mereka berpikir keras untuk bersedia membatalkan perjanjian dan nota kesepahaman 1936. d. Aktifitas dan kerja politik lain yang dilakoni Imam Hasan Al-Banna adalah pengiriman delegasi-delegasi politik yang mengurus pembebasan Mesir dari penjajahan dan kolonialisme. e. Pemusnahan semua hal yang berkaitan dengan Inggris di Mesir, ketika setiap anggota ikhwan di masing-masing provinsi mengumpulkan semua buku-buku, majalah-majalah dan surat kabar berbahasa Inggris setelah itu dibakar di lapangan-lapangan umum sebagai bentuk aksi protes terhadap kebijakan politik koloialis Inggris. f. Penugasan delegasi-delegasi untuk menyerukan pemboikotan semua tulisan berbahasa Inggris serta pemusnahan semua spanduk, baliho dan papan pengumuman berbahasa Inggris yang terpampang di berbagai institusi, pusat-pusat perdagangan dan sebagainya, lalu menggantinya dengan spanduk-spanduk berbahasa Arab. Penugasan divisi khusus Ikhwanul Muslimin yang berkonsentrasi melakukan pembelaan sengketa lembah sungai Nil untuk menyebarkan ke seluruh penjuru Mesir jutaan selebaran bergambar hati yang diberi warna merah dan ditengah-tengahnya tertulis kata “usir kaum penjajah!!!” hingga pada waktu yang telah ditentukan semua rakyat Mesir keluar dan berkumpul dengan menyangkutkan tulisan tersebut di dada mereka. Sungguh merupakan pemandangan yang menarik. Aksi Mogok dan Demonstrasi Di antara bentuk pendidikan politik Imam Hasan Al-Banna dalam menghadapi peristiwa-peristiwa penting dunia perpolitikan Mesir adalah sebagai berikut:  Imam Hasan Al-Banna pernah mengadakan rapat pembentukan panitia inti yang akan mendialogkan upaya perebutan secara paksa hak rakyat Mesir yang telah dirampas oleh imperealisme Inggris. Dialog tersebut diselengarakan pada tanggal 5 Februari 1946. Sebagai tindak lanjut dari hasil dialog tersebut berupa aksi protes dan demonstrasi menuju istana Abidin. Dalam demonstrasi tersebut mereka menuntut raja Faruq untuk memperjuangkan hak-hak rakyat Mesir yang telah dirampas. Akibatnya, terjadi pembantaian besar-besaran di jembatan Abbas tanggal 9 Februari 1946. Segera setelah gelombang aksi protes yang dilancarkan, akhirnya rezim Neqrasyi tumbang, khususnya setelah gelombang aksi protes yang dikomandoi oleh Musthafa Mu’min, pimpinan mahasiswa Ikhwanul Muslimin di Universitas Al-Azhar.  Keterlibatan Ikhwanul Muslimin dalam beberapa aksi protes dan demonstrasi di masa rezim pemerintahan Ismail Shidqy. Dalam aksi tersebut, mereka menuntut Ismail berupaya mengembalikan hak-hak rakyat Mesir yang telah terampas. Dua tuntutan utama mereka adalah pengusiran Inggris dari tanah Mesir dan menggalang persatuan guna menyelesaikan sengketa lembah sungai Nil. Pengerahan massa guna melakukan unjuk rasa sebagai bentuk penegasan dan keseriusan tuntutan mereka atas instruksi dari Ikhwanul Muslimin pada tanggal 10 Mei 1946 dan tanggal 8 Juni 1946. Mereka juga mengungkapkan fakta-fakta yang menyuarakan dengan lantang kepada rakyat Mesir agar menuntut hak-hak mereka serta menolak perjanjian-perjanjian dengan penjajah Inggris serta instruksi melakukan pemboikotan total terhadap Inggris bidang ekonomi, pendidikan dan sosial. Dari Buku: Fikih Politik Menurut Imam Hasan Al-Banna. Penulis: Dr. Muhammad Abdul Qadir Abu Faris.

ทฤษฎี 3 อำนาจ

อำนาจและพลังทางสังคม 3 ชนิด หมายเหตุ ข้อมูลทั้งหมดนี้ เป็นการเก็บความมาจากการบรรยายของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี ซึ่งบรรยายให้กับนักศึกษาของสถาบันพระปกเกล้าฯ (ที่เดินทางมาศึกษาภาคสนาม ณ เขตจังหวัดภาคเหนือ) ที่จังหวัดเชียงใหม่ ณ สวนบันรีสอร์ท อ.หางดง ในวันที่ 3 มิถุนายน 2543 เวลา 8.30 น. (ข้อมูลที่เก็บความมานี้ ได้มีการปรับปรุงขึ้นมาใหม่และจัดแยกหัวข้อตามที่ผู้เรียบเรียงเข้าใจ และประยุกต์ให้เข้ากันกับสื่ออิเล็คทรอนิค. ดังนั้น หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้เรียบเรียงขอรับผิดชอบต่อข้อมูลเหล่านี้ที่นำเสนอ. สมเกียรติ ตั้งนโม) 1. พลังทางสังคมออกเป็น 3 ส่วนคือ 1. 1.พลัง”พลานุภาพ” หมายถึงพลังอำนาจซึ่งมาจากการใช้กำลัง เป็นอำนาจของการใช้ความรุนแรงเข้าแก้ไขปัญหา พลังชนิดนี้ ยิ่งใช้ความรุนแรงมากเท่าใด ก็ยิ่งทำให้เกิดความทุกข์ยากมากทั้งฝ่ายที่ถูกกระทำและฝ่ายที่กระทำ และในท้ายที่สุดผู้ใช้ความรุนแรงนั้นก็จะอยู่ไม่ได้. (สังคมที่ใช้พลังแบบ”พลานุภาพ”นี้ เป็นสังคมในรูปแบบที่เก่าแก่ที่สุด มีมาตั้งแต่อดีตจนกระทั่งปัจจุบัน และมักเป็นสังคมที่ล้าหลัง) 1.2.พลัง”ธนานุภาพ” หมายถึงพลังอำนาจซึ่งได้มาจากการใช้อำนาจทางการเงิน แทรกซึมเข้ามาในการแก้ปัญหา หรือเข้าแก้ปัญหาโดยตรง. อำนาจที่มาจากเงินนี้ไม่มีสัญชาติ แผ่ซ่านแทรกซึมไปได้ทั่วและซับซ้อน มีความแนบเนียนจนผู้ที่ถูกใช้อำนาจชนิดนี้ไม่ทันรู้ตัว ดังนั้น จึงเป็นอันตรายมากเพราะผู้ถูกกระทำไม่ทันได้ระวังตัวเหมือนกับคนที่ใช้ความรุนแรงกับเรา 1.3.พลัง”สังคมานุภาพ” หมายถึงพลังทางสังคมหรือชุมชน บางท็เรียกว่า”ประชานุภาพ” พลังชนิดนี้เชื่อใน”อำนาจของความรู้”ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกัน ร่วมคิดร่วมทำ และการระดมสมองเพื่อเข้าแก้ไขปัญหาต่างๆ เป็นอำนาจในลักษณะของการประสานร่วมมือกัน อำนาจความรู้นี้มีความยั่งยืน. สำหรับ”สังคมานุภาพ”นี้ เป็นพลังอำนาจที่รวมตัวกันอยู่ในพื้นที่จริงทางภูมิศาสตร์หรือทาง cyber space ก็ได้ โดยผ่านสื่ออีเล็คทรอนิค ที่ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน พลังเช่นนี้จึงมาจากหลายแหล่งความคิด และมีอำนาจในการแก้ไขปัญหาทุกชนิด โดยไม่ต้องใช้ความรุนแรง 2. รูปธรรมโครงสร้างทางอำนาจ 2.1.รูปธรรมทางโครงสร้างพลัง”พลานุภาพ” จะเป็นไปในลักษณะแนวดิ่งจากบนลงล่างตามลำดับ มีการสั่งการและมีผู้ปฏิบัติตาม. โครงสร้างทางอำนาจชนิดนี้มีลักษณะของผู้ชาย และอำนาจไม่ยั่งยืน กล่าวคือ เมื่อผู้มีอำนาจแบบนี้ตายลง โครงสร้างนี้ก็จะเสื่อมทรุดลง หรือบางครั้งก็พังครืนลงมา 2.2.รูปธรรมทางโครงสร้างพลัง”ธนานุภาพ” มีลักษณะเป็นแนวดิ่งและแนวนอน ทั้งในลักษณะของการสั่งการของผู้มีอำนาจเงินมากกว่าลงมาตามลำดับ และการแพร่กระจายไปตามแนวนอนแบบเชื้อโรค อีกทั้งยังทำงานร่วมกับอำนาจแบบ”พลานุภาพ”ได้ด้วย ซึ่งจะทำให้อำนาจความรุนแรงเข้มข้นมากขึ้น. ส่วนการสืบทอดอำนาจนั้นเป็นไปอย่างต่อเนื่อง 2.3.รูปธรรมทางโครงสร้างพลัง”สังคมานุภาพ” จะเป็นไปในลักษณะแนวนอน และร่วมประสานความร่วมมือ อำนาจนี้มีความยั่งยืนกว่า และเป็นอำนาจแบบผู้หญิง คือถ้อยทีถ้อยอาศัยซึ่งกันและกัน ไม่มีลักษณะของความเป็นผู้นำที่โดดเด่น หรือการสืบทอดอำนาจตลอดกาล 3. สังคมานุภาพ สังคมานุภาพ เกิดขึ้นมาได้จากหลายๆสาเหตุ บางครั้งเริ่มต้นขึ้นมาจากการพยายามหาทางแก้ปัญหาร่วมกันในสิ่งที่นำมาซึ่งความทุกข์ อาจเริ่มจากความทุกข์ของปัจเจกชน และพัฒนาไปสู่การร่วมกันกับคนที่มีความทุกข์อย่างเดียวกัน และพยายามค้นหาทางออกพร้อมๆกัน. การร่วมทุกข์นี้ในทางพุทธศาสนาถือว่าจะทำให้ความรู้สึกทุกข์นั้นน้อยลง และที่สำคัญ การร่วมทุกข์ทำให้ได้มีการปรับทุกข์ ได้รับการปรึกษาหารือกัน จากหนักกลายเป็นเบา 4. หลักธรรมแห่งสังคมานุภาพ ในทางพระพุทธศาสนา มีหลักธรรมที่นำมาประยุกต์ใช้ได้กับพลังแห่ง”สังคมานุภาพ”คือ หลักแห่ง”อปริหานิยธรรม”(หรือ ธรรมะที่ไม่ทำให้ฉิบหาย)[ปริหานิยธรรม – ธรรมแห่งความฉิบหาย] ซึ่งพระพุทธองค์ทรงตรัสสอนให้มีการ”หมั่นประชุมกันเนืองนิจ” ในหนังสือเรื่อง Making Democracy World : civic tradition of modern Itary เป็นหนังสือเกี่ยวกับการไปศึกษาเชิงเปรียบเทียบถึงความแตกต่างของประเทศอิตาลีว่า ทำไมเมืองมิลาโน ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของอิตาลี จึงมีความเจริญทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง, แต่พอมาศึกษาที่ซิซิลี ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ ทำไมจึงพบว่ามีแต่การคอรัปชั่น การฆ่ากัน การโกงกัน และมาเฟีย. ผมสรุปของการศึกษาเชิงเปรียบเทียบนี้ออกมาคือ เป็นเพราะเมืองมิลาโนมีประชาคม ในขณะที่ซิซิลีไม่มีประชาคม. การมีประชาคม ทำให้การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมดี มีศีลธรรม สรุปทั้งหมดของหนังสือเล่มนี้ หากใช้คำพูดที่รวบรัดและสั้นที่สุดก็คือ “ประชาคม”, “ประชาสังคม”, และ”ความร่วมมือกัน”นั่นเอง