19 November 2009

Bila Solat Eid Pada Hari Jumaat...

السلام عليكم ورحمة الله وبركاته Ibnu Taimiyah sewaktu menjawab soalan mengenai dua solat,Jumaat dan Eid bertembungan secara kebetulan sebagai; Qaul 1. Solat Jumaat selepas solat Eid: Wajib seperti biasa Qaul ke 2. Solat Jumaat selepas solat Eid:Tidak perlu bagi penduduk luar bandar dan mereka yang berpindah randah.Suatu mafhum dari Usman Ibni Affan telah memberi kemudahan kepada mereka supaya menunaikan solat Zuhri dirumah masing-masing selepas selesai solat Eid. Qaul ke 3.Yang dianggapkan sebagai yang betul bahawa tidak ada solat jumaat di hari yang sudah berlaku solat raya kerana telah menepati maksud berhimpun dan telah mendengar khutbah, pendapat ini ada sabit pada masa rasulluLLAH Sila semak dalam bahasa Arab dibawah: وسئل رحمه الله عن رجلين تنازعا فى العيد إذا وافق الجمعة فقال أحدهما يجب أن يصلي العيد ولا يصلي الجمعة وقال الآخر يصليها فما الصواب فى ذلك فأجاب الحمد لله إذا اجتمع الجمعة والعيد فى يوم واحد فللعلماء فى ذلك ثلاثة أقوال أحدها أنه تجب الجمعة على من شهد العيد كما تجب سائر الجمع للعمومات الدالة على وجوب الجمعة والثانى تسقط عن أهل البر مثل أهل العوالى والشواذ لأن عثمان بن عفان أرخص لهم فى ترك الجمعة لما صلى بهم العيد والقول الثالث وهو الصحيح أن من شهد العيد سقطت عنه الجمعة لكن على الامام أن يقيم الجمعة ليشهدها من شاء شهودها ومن لم يشهد العيد وهذا هو المأثور عن النبى وأصحابه كعمر وعثمان وابن مسعود وبن عباس وبن الزبير وغيرهم ولا يعرف عن الصحابة فى ذلك خلافوأصحاب القولين المتقدمين لم يبلغهم ما فى ذلك من السنة عن النبى لما اجتمع فى يومه عيدان صلى العيد ثم رخص فى الجمعة وفى لفظ أنه قال أيها الناس إنكم قد أصبتم خيرا فمن شاء أن يشهد الجمعة فليشهد فإنا مجمعون وأيضا فإنه إذا شهد العيد حصل مقصود الإجتماع ثم إنه يصلي الظهر إذا لم يشهدالجمعة فتكون الظهر فى وقتها والعيد يحصل مقصود الجمعة وفى ايجابها على الناس تضييق عليهم وتكدير لمقصود عيدهم وما سن لهم من السرور فيه والانبساط فإذا حبسوا عن ذلك عاد العيد على مقصوده بالابطال ولأن يوم الجمعة عيد ويوم الفطر والنحر عيد ومن شأن الشارع إذا اجتمع عبادتان من جنس واحد أدخل احداهما فى الأخرى كما يدخل الوضوء فى الغسل وأحد الغسلين فى الآخر والله أعلم. انظر مجموع الفتاوى ( 24/ 210- 211) ท่านชัยคุลอิสลามอิบนุตัยมียะฮฺถูกถามว่า ชายสองคนได้ขัดแย้งกันในประเด็นว่า เมื่อวันอีดตรงกับวันศุกร์ คนหนึ่งกล่าวว่า จำต้องละหมาดอีดและไม่ต้องละหมาดญุมุอะฮฺ อีกคนหนึ่งกล่าวว่า ต้องละหมาดญุมุอะฮฺเช่นเดียวกัน ทัศนะใดที่ถูกต้อง ? ท่านอิบนุตัยมียะฮฺตอบว่า เมื่อวันศุกร์ตรงกับวันอีดในวันเดียวกัน บรรดาอุละมาอฺมีอยู่ 3 ทัศนะ ทัศนะแรก - การละหมาดญุมุอะฮฺเป็นวาญิบ(จำเป็นต้องทำ)สำหรับคนที่ได้ละหมาดอีดด้วย ดังเช่นทุกวันศุกร์ เนื่องด้วยหลักฐานต่างๆที่บ่งถึงความจำเป็นในการปฏิบัติละหมาดญุมุอะฮฺ (หมายถึงไม่มีข้อเว้น) ทัศนะที่ 2 - การละหมาดญุมุอะฮฺไม่ต้องปฏิบัติสำหรับชาวชนบทและคนเร่ร่อน เพราะท่านอุษมาน อิบนุอัฟฟาน ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ อนุโลมให้คนกลุ่มนี้ละทิ้งการละหมาดญุมุอะฮฺเมื่อท่านได้ละหมาดอีดกับพวกเขา(หมายรวมว่า อนุญาตไม่ให้ละหมาดยุมุอะฮฺที่มัสญิด แต่ให้ละหมาดดุฮฺริที่บ้านของตนก็ได้) ทัศนะที่ 3 - ซึ่งเป็นทัศนะที่ถูกต้องคือ ใครที่ละหมาดอีดแล้วการละหมาดญุมุอะฮฺก็ถูกเว้นไป แต่สำหรับอิหม่ามจำต้องดำรงการละหมาดญุมุอะฮฺเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่ประสงค์จะละหมาดญุมุอะฮฺได้มีที่ละหมาดและสำหรับคนที่ไม่ได้ละหมาดอีด(จะได้มีที่ละหมาดญุมุอะฮฺด้วย) และนั่นคือการปฏิบัติที่มีรายงานจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม และสาวกของท่าน อาทิเช่น ท่านอุมัร, อุษมาน, อิบนุมัสอู๊ด, อิบนุอับบาส, อิบนุซุบัยรฺ, และอื่นๆ โดยไม่มีทัศนะอื่นจากเศาะฮาบะฮฺดังกล่าวที่แย้งกับทัศนะนี้ และสำหรับสองทัศนะแรกเขาก็ไม่ได้รับรู้หลักฐานจากซุนนะฮฺของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม เกี่ยวกับกรณีวันศุกร์ตรงกับวันอีด ซึ่งท่านนบีละหมาดอีดและอนุโลม(ให้เว้น)การละหมาดญุมุอะฮฺ และมีอีกสำนวนหนึ่งท่านนบีกล่าวว่า "โอ้ผู้คนทั้งหลาย แท้จริงพวกท่านได้ประสบความดีแล้ว(คือละหมาดอีด) ดังนั้นใครประสงค์ที่จะละหมาดญุมุอะฮฺ(ด้วย)ก็จงปรากฏตัว เพราะเราจะละหมาดญุมุอะฮฺ(ด้วย)" อนึ่งผู้ที่ละหมาดอีดแล้วจะถือว่าประสบวัตถุประสงค์ของการชุมนุม(ในวันศุกร์) และจำเป็นต้องละหมาดดุฮฺริถ้าไม่ได้ละหมาดญุมุอะฮฺ โดยละหมาดดุฮฺริตามเวลา เพราะการละหมาดอีดนั้นได้บรรลุเป้าหมายของละหมาดญุมุอะฮฺแล้ว และการบังคับให้ผู้คน(ละหมาดญุมุอะฮฺด้วย) เป็นความลำบากสำหรับพวกเขา และอาจขัดกับเป้าหมายของวันอีดที่ส่งเสริมให้สนุกสนานและประพฤติตัว(ตามอัธยาศัย) ซึ่งหากพวกเขาถูกบังคับให้ละหมาดญุมุอะฮฺก็เป็นการทำลายเป้าหมายของวันอีด ซึ่งวันญุมุอะฮฺเป็นอีดและวันอัลฟิฏรฺ(อีดเล็ก)กับวันอันนะหรฺ(อีดใหญ่)เป็นวันอีดเช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นนโยบายของพระผู้บัญญัติเมื่อมีอิบาดะฮฺสองชนิดได้ปรากฏพร้อมกันก็จะประสมประสานกันเช่นเดียวกับการอาบน้ำละหมาดที่เข้าอยู่ในการอาบน้ำญะนาบะฮฺ วัลลอฮุอะอฺลัม (อ้างอิงจาก มัจญฺมูอฺอัลฟะตาวา, ชัยคุลอิสลามอิบนุตัยมียะฮฺ เล่ม 24 หน้า 210-211)

Contoh yang mesti di tauladani

ตัวอย่างที่ควรจะได้รับการปฎิบัติให้เป็นแบบอย่างที่แม้แต่ศัตรูทางการเมืองก็ยังต้องชมในความเฉลียวฉลาด และรอบคอบของโต๊ะครูที่ปฏิบัติหน้าที่ผู้นำทางการเมืองบริหารท้องถิ่นอย่างโปร่งใส โต๊ะคูรูนิกอับดุลอาซิส นิกมัต มุขมนตรีประจำรัฐกลันตัน ที่ปรึกษาพรรคอิสลามแห่งมาเลเซีย(ปาส)ล้มเลิกความตั้งใจที่จะไปประกอบพิธีฮัจญ์ในปีนี้ เนื่องจากรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีที่ควบคุมดูแลองค์กรอิสระเพื่อป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบกล่าวว่าเมื่อท่านโต๊ะคูรูนิกอับดุลอาซิส นิกมัต เปิดเผยเองว่า ท่านได้รับการสนับสนุนจากบุคคลหนึ่งให้ไปทำฮัจญ์ในปีนี้ โดยข้อมูลดังกล่าวได้รับการเผยแพร่ผ่านสื่อทุกชนิด ก็เป็นเรื่องจำเป็นที่หน่วยงานที่ดูแลด้านการป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบต้องเข้ามาดู และเมื่อท่านยืนยันว่าท่านจะไม่ไปเรื่องก็จบ นัซรี อาซิส รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีกล่าว พร้อมทั้งชื่นชมว่า ท่านเป็นคนตรงไปตรงมา ไม่มีเลศนัย จริง ๆ แล้วถ้าท่านจะไปก็ไปได้ไม่ต้องไปพูดอะไรเพราะใคร ๆ ก็รูว่าท่านมีความสามารถที่จะไป KOTA BHARU, 18 Nov: Keputusan Tuan Guru Datuk Nik Abdul Aziz Nik Mat membatalkan hasrat mengerjakan haji ke Makkah tahun ini dianggap Menteri di Jabatan Perdana Menteri, Datuk Seri Mohamed Nazri Aziz boleh menyelesaikan isu. “Tindakan Menteri Besar Kelantan mengambil keputusan membatalkan hasrat mengerjakan haji memudahkan kerja kami. “Memang penajaan sebenarnya bukan rasuah, tetapi memandangkan Tuan Guru seorang Menteri Besar, ia tidak boleh berlaku perkara sedemikian. “Tidak ada masalah sesiapa pun nak menaja Tok Guru pergi ke Makkah, tetapi kedudukannya sebagai Menteri Besar,” ujarnya kepada media selepas mengunjungi Menteri Besar, di pejabatnya petang tadi. Jumaat lalu Tuan Guru Nik Abdul Aziz membatalkan hasrat menunaikan haji disebabkan isu ada pihak memperbesarkan isu tajaannya untuk ke Makkah. Nazri berkata, Suruhanjaya Pencegahan Rasuah Malaysia (SPRM) selaku badan bebas melakukan siasatan berdasarkan laporan dalam akhbar dan bukannya melalui mana-mana individu. Katanya, Tuan Guru Nik Abdul Aziz sendiri mengeluarkan kenyataan beliau ditaja seseorang ke Makkah. “Pada saya, Nik Aziz mengeluarkan satu kenyataan tanpa rasa bersalah kerana kalau tok guru nak pergi, dia tak perlu cakap, tetapi dalam hal ni dia cakap dan dia sendiri bukan ada niat apa-apa. “Kalau dia betul nak pergi, dia tak payah cerita daripada mana dia dapat duit, kita pun tahu dia ada duit, tapi Tok Guru ni seorang yang lurus,” ujarnya. Beliau juga berkata, sebagai contoh jika seseorang itu memberikan rasuah dan meletak wang di atas meja tanpa diusik orang yang ingin dirasuah, ia belum boleh dikaitkan dengan rasuah. ข้อมูลจากหนังสือพิมพ์ฮารอกะห์

18 November 2009

السعودية تعلن الأربعاء أول أيام شهر ذي الحجة

السلام عليكم ورحمة الله وبركاته Kerajaan Saudi umum tarikh wukuf dan Eid al Adha ซาอุฯประกาศวันพุธที่ 18 เป็นวันที่ 1 ซุลหิจญะฮฺ ดังนั้น วันวุกูฟที่อะเราะฟะฮฺคือ วันพฤหัสฯ 26 พฤศจิกายน และวันอีดอัล-อัฎหาคือ วันศุกร์ 27 พฤศจิกายน Diumumkan bahawa hari Rabu (18 Nov.09)adalah awal bulan Zulhijjah 1430 dan tarikh wuquf adalah pada hari Khamis 26 Nov.09 dan Jumaat 27 Nov.09 sebagai Hari Raya Aidil Adha 1430. أعلنت المملكة العربية السعودية أن الأربعاء هو أول أيام شهر ذي الحجة، وعليه يكون الوقوف بعرفة هو يوم الخميس الموافق الـ 26 من نوفمبر 2009، والجمعة 27 نوفمبر هو أول أيام عيد الأضحى المبارك. وقالت المحكمة العليا السعودية: إن الوقوف بصعيد عرفة سيكون يوم الخميس بعد المقبل، في حين سيكون يوم الجمعة أول أيام العيد. وكانت المحكمة العليا السعودية دعت عموم المسلمين في جميع أنحاء المملكة إلى تحري رؤية هلال شهر ذي الحجة مساء الثلاثاء. وأكدت السلطات السعودية على ضرورة رؤية الهلال بالعين المجردة وأقرت مؤخرًا إمكانية رؤية الهلال بالمناظير وهو ما كان مستبعدًا من قبل. ويعد تحديد بداية شهر ذي الحجة حاسمًا لمعرفة توقيت وقوف الحجاج على جبل عرفات، الركن الأهم في ركن الحج. ومن المتوقع أن يصل عدد الحجاج القادمين من خارج المملكة هذا العام لأداء الحج إلى حوالي نحو مليوني حاج من جميع أنحاء العالم.