04 June 2011

TAHNIAH KEPADA BARISAN PIMPINAN BARU PAS

KUALA LUMPUR, 4 Jun: Mohamad Sabu menang untuk jawatan Timbalan Presiden PAS menewaskan penyandang asalnya Nasharudin Mat Isa dan seorang lagi calon Datuk Tuan Ibrahim Tuan Man.

Mohamad mendapat 420 undi berbanding Tuan Ibrahim 399 dan Nasha 224 daripada jumlah keseluruhan 1045 undi.

Manakala untuk jawatan Naib Presiden pula dimenangi Salahudin Ayub, Datuk Husam Musa dan Datuk Mahfuz Omar.

Ketiga-tiga mereka mendapat undi paling tinggi menewaskan tiga lagi calon iaitu Ust Idris Ahmad, Datuk Mohd Amar Abdullah dan Datuk Seri Mohamad Nizar Jamaludin.

Salahudin mendapat 753 undi, Husam (660), Mahfuz (616), Idris (491), Nik Amar (321) dan Nizar (217).

Kesemua mereka akan menerajui kepimpinan PAS bersama Presiden, Tuan Guru Datuk Seri Abdul Hadi Awang yang menang tanpa bertanding.

Keputusan rasmi itu dibacakan Pengerusi Jawatankuasa Pemilihan PAS 2011-2013, Datuk Abdul Halim Abd Rahman kira-kira jam 10.15 pagi tadi.

Berikut adalah senarai Ahli Jawatankuasa PAS Pusat sesi 2011-2013:

1) Mazlan Aliman (804)
2) Dr Mohd Hatta Md Ramli (765)
3) Datuk Kamarudin Jaafar (739)
4) Hanipa Maidin (735)
5) Datuk Seri Azizan Abdul Razak (721)
6) Dr Zulkefly Ahmad (702)
7) Dr Mujahid Yusof Rawa (651)
8) Khalid Samad (643)
9) Abdul Ghani shamsuddin (579)
10) Amiruddin Hamzah (576)
11) Abdul Wahid Endut (556)
12) Abu Bakar Chik (527)
13) Datuk Mohd Amar Abdullah (470)
14) Dr Siti Mariah Mahmud (445)
15) Datuk Mahfodz Mohamed (449)
16) Datuk Hassan Ali (437)
17) Abdul Ghani Abd Rahman (430)
18) Nuridah Salleh (416)

Sumber:HARAKAH DAILY

03 June 2011

คุตบะห์:ดัชนีชี้วัดความสำเร็จและความล้มเหลวในชีวิต

ณ มัสยิดพัฒนาวิทยายะลา
โดย อ.ซูฮัยมีย์ อาแว แผนกวิชาสามัญ วิทยาลัยเทคนิคยะลา
suhaimia@hotmail.com


พี่น้องผู้ร่วมละหมาดญุมอัต رحم كم الله ،
ในสำนึกของคนเรามักจะมีสองประการสำคัญเสมอ ที่มักใช้เป็นดัชนีเชิงเปรียบเทียบในสังคมตลอดมา คือ
1) ความสำเร็จ และ 2) ความล้มเหลว บ่อยครั้งที่เราได้ยินคำว่า “คนนั้นประสบความสำเร็จในชีวิตเพราะสามารถก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งสูงสุดในหน้าที่การงาน ได้รับเงินเดือนเป็นแสน มีชีวิตอยู่อย่างสุขสบาย ลูก ๆ เรียนจบสูง ๆ ทุกคน” และมีจำนวนไม่น้อยเช่นเดียวกันที่เราได้ยินว่า “คนนั้นน่าเห็นใจ เป็นคนล้มเหลวในชีวิตเพราะทำงานบ้าน ๆ ลูกเมียต้องอยู่อย่างยากลำบาก หาเช้ากินค่ำ ต้องยืมหนี้กู้สินเพื่อส่งลูกเรียน”
ทั้งสองประโยคดังกล่าวนั้น เป็นวัฒนธรรมเชิงสัญลักษณ์แก่คนที่บูชาวัตถุ ซึ่งได้ซึมซับเข้ามามีอิทธิพลเหนือชีวิตของเราอย่างไม่รู้ตัว ทั้งที่เราไม่เคยคิดว่ามันจะถูกหรือผิด อะไรคือดัชนีที่ถูกต้องที่จะสามารถวัดผลความสำเร็จ หรือความล้มเหลวของมนุษยชาติในสังคม ตำแหน่ง ทรัพย์สิน เกียรติยศ บรรดาศักดิ์ และชื่อเสียงใช่หรือไม่? ซึ่งถ้าหากใช่ก็หมายความว่าในชีวิตของแต่ละคนจักต้องหมกมุ่นอยู่กับภาวะของการแข่งขัน และการแย่งชิงอยู่ตลอดเวลา ตำแหน่งสูง ๆ เงินเดือนสูง ๆ มีจำนวนจำกัด คนในสังคมจึงต้องตะเกียกตะกาย ดิ้นรนต่อสู้เพื่อให้จงได้ ส่งผลทำให้เกิดภาวะความตึงเครียดระหว่างพี่น้องในสังคม เกิดความเกลียดชัง อิจฉาริษยา และความไม่ไว้เหนือเชื่อใจต่อกัน ต่างคนต่างยึดมั่นต่อศักยภาพของตน จนในที่สุดคุณค่าเชิงมนุษยธรรมก็จะสูญหายไปจากสังคม ความเป็นพี่น้องก็จะหมดไปในที่สุด

อัลลอฮฺได้ตรัสไว้ในอัล-กุรอานความว่า “เจ้าอย่าได้พึงพอใจต่อทรัพย์สิน และลูกหลานของพวกเขา แท้จริงอัลลอฮฺประสงค์ที่จะลงโทษพวกเขาในชีวิตแห่งดุนยาอันเนื่องด้วยสิ่งเหล่านั้น และประสงค์ที่จะให้วิญญาณออกจากร่างของพวกเขาในสภาพที่เป็นผู้ปฏิเสธ” (อัตเตาบะฮฺ / 55)

อัลลอฮฺยังได้ตรัสอีกความว่า “ทุกชีวิตต้องได้ลิ้มรสแห่งความตาย แท้จริงในวันกิยามะฮฺพวกเจ้าจะได้รับรางวัลตอบแทนอย่างครบถ้วน ใครที่อัลลอฮฺให้เขารอดพ้นจากไฟนรกและได้เข้าสวรรค์ แน่นอนว่าเขาได้รับความสำเร็จ ชีวิตในโลกนี้หาได้มีอะไรนอกจากสิ่งอำนวยประโยชน์แห่งการหลอกลวงเท่านั้น” (อาละอิมรอน /185)
และที่สำคัญอัลลอฮฺยังได้ตรัสความว่า “แน่นอนบรรดาผู้ศรัทธาได้ประสบความสำเร็จแล้ว” “บรรดาผู้ที่พวกเขาเป็นผู้นอบน้อมถ่อมตนในเวลาละหมาดของพวกเขา” (อัล-มุอฺมีนูน / 1-2)

ศรัทธาชนผู้ร่วมละหมาดญุมอัต رحم كم الله ،
จงเพียงพอกับคำตรัสของอัลลอฮฺเถิด ในเมื่ออัลลอฮฺได้กล่าวว่า 1) เจ้าอย่าได้พึงพอใจต่อทรัพย์สินและลูกหลานของพวกเขา แท้จริงอัลลอฮฺประสงค์ที่จะลงโทษพวกเขาในชีวิตแห่งดุนยาอันเนื่องด้วยสิ่งเหล่านั้น 2) ผู้ที่รอดพ้นจากไฟนรกและได้เข้าสวรรค์ แน่นอนว่าเขาได้รับความสำเร็จ และ 3) แน่นอนบรรดาผู้ศรัทธาได้ประสบความสำเร็จแล้ว บรรดาผู้ที่พวกเขาเป็นผู้นอบน้อมถ่อมตนในเวลาละหมาดของพวกเขา

จากหลักฐานทั้งหมดที่ยกมา การละหมาดสามารถที่จะสรุปให้เป็นตัวชี้วัดทางสังคมได้ชัดเจนที่สุด เนื่อง จากความสำเร็จที่แท้จริงคือความสำเร็จในโลกอันนิจนิรันดร์ คือโลกอาคีเราะห์ นั่นคือผู้ที่รอดพ้นจากไฟนรกและได้เข้าสวนสวรรค์ของอัลลอฮฺ ที่อัลลอฮฺระบุเป็นการเจาะจงว่า “บรรดาผู้ศรัทธาได้ประสบความสำเร็จแล้ว บรรดาผู้ที่พวกเขาเป็นผู้นอบน้อมถ่อมตนในเวลาละหมาดของพวกเขา”

ซึ่งเป็นที่น่าตกใจว่าในสังคมปัจจุบันกลุ่มอาชีพต่าง ๆ นับตั้งแต่นักเรียนนักศึกษา นักธุรกิจการค้า ข้าราชการ พนักงานของรัฐ และลูกจ้างต่าง ๆ ตลอดจนประชาชนส่วนหนึ่ง ที่อาจแลเห็นว่าประสบความสำเร็จในชีวิตแต่ยังคงเพิกเฉยต่อการดำรงละหมาด ซึ่งมีจำนวนไม่น้อย
จากสถิติงานวิจัยของนักวิชาการชื่อดังในประเทศมาเลเซีย ดาโต๊ะ ดร.ฮัจญี โมฮัมมัด ฟาดซีละห์ กัมซะห์ ที่ได้ศึกษาวิจัยผ่านการจัดกิจกรรมบรรยายสร้างแรงจูงใจทั่วประเทศระบุว่า ชาวมุสลิมจำนวนร้อยละ 80 ที่ยังดำรงละหมาดไม่ครบวันละห้าเวลา และมีเพียงร้อยละ 17-20 เท่านั้นที่ยืนยันว่าดำรงละหมาดครบวันละห้าเวลา
ข้อมูลดังกล่าวระบุว่า กลุ่มที่มักจะไม่ให้ความสำคัญกับการละหมาดมากที่สุดคือกลุ่มเยาวชน นักเรียน นักศึกษา รองลงมาคือกลุ่มคนทำงานในโรงงาน คนในเครื่องแบบ และอื่น ๆ

การศึกษาวิจัยยังได้ระบุถึงปัจจัยที่ทำให้ผู้ตอบแบบสอบถามไม่สนใจละหมาดให้ครบถ้วนสมบูรณ์นั้นว่า เกิดจากการขาดความรู้ศาสนาเป็นนัยสำคัญ พร้อมทั้งการขาดทักษะเพียงพอในการทำอิบาดะห์เป็นลำดับรองลงมา ซึ่งในทัศนะของ อัล-คูมายี ได้ระบุถึงปัจจัยสำคัญ 3 ประการ ที่ทำให้ชาวมุสลิมไม่ปฏิบัติละหมาดคือ
1). ความเกียจคร้าน(อัล-กะซัล) 2). ความอ่อนแอทางสติปัญญา (อัล-ฟูตูรฺ) และ 3). ความเบื่อหน่าย(อัล-มาลัล)
จากปัจจัยดังกล่าวจะเห็นได้ว่า 2 ใน 3 เป็นปัจจัยทางด้านอารมณ์ความรู้สึก และ อีกปัจจัยหนึ่งคือสติปัญญา ดังนั้นการที่เราปล่อยให้ปัญญาของพวกเราอ่อนหล้า อ่อนแอ โดยถูกครอบงำจากฮาวานัฟซู(อารมณ์ใฝ่ต่ำ) นั้น เป็นการกระทำที่ท้าทายต่อบทบัญัติของอัลลอฮฺอย่างรุนแรง บ่าวที่ดี(ศอลิฮฺ)จะไม่ยอมให้ฮาวานัฟวซุ(อารมณ์ใฝ่ต่ำ) มาเป็นผู้นำของตน เพราะนั่นหมายถึงความหายนะ ดังคำดำรัสของอัลลอฮฺ ความว่า “เจ้าเคยเห็นผู้ที่ยึดถือเอาอารมณ์ใฝ่ต่ำของเขาเป็นพระเจ้าของเขาบ้างไหม ? และอัลลอฮฺจะทรงให้เขาหลงทางด้วยการรอบรู้ (ของพระองค์) และทรงผนึกการฟังของเขาและหัวใจของเขาและทรงทำให้มีสิ่งบดบังดวงตาของเขา ดังนั้นผู้ใดเล่าจะชี้แนะแก่เขาหลังจากอัลลอฮฺ พวกเจ้ามิได้ใคร่ครวญกันดอกหรือ ? (อัล-ญาซียะฮฺ/23)

อัศศอวีย์ได้อธิบายอายะฮฺนี้ว่า อัลลอฮฺ ตะอาลาทรงกล่าวถึงลักษณะของพวกุฟาร 4 ประการ คือ 1. เคารพ
บูชาอารมณ์ใฝ่ต่ำ 2. การหลงทางของพวกเขา โดยที่พวกเขารู้ 3. ประทับตราบนหู และหัวใจของพวกเขา 4.ทำให้
สิ่งบดบังบนดวงตาของพวกเขา
ทั้งหมดนี้เป็นการคู่ควรแก่การหลงทางแสงสว่างหรือการชี้นำที่ดีไม่อาจที่จะเข้าไป
ถึงพวกเขาได้ อนึ่งคำว่า “อะลาอิลมิน”นั้น นักตัฟซีรมีความเห็นเป็นสองความหมาย คือ ด้วยความรอบรู้ของ
อัลลอฮฺ” หรือ “ด้วยความรู้ของผู้หลงทางเอง”

อัลลอฮฺได้สร้างมนุษย์ทุกคนประกอบด้วยอารมณ์สองส่วนด้วยกันคือ อารมณ์ใฝ่ต่ำและอารมณ์ที่ดีหรือสงบ ซึ่งอารมณ์ทั้งสองส่วนนี้ตรงข้ามกันเสมอ ส่วนหนึ่งจะอยู่ฝ่ายเดียวกับมลาอิกะฮฺ และอีกส่วนหนึ่งจะอยู่กับฝ่ายชัยฏอน
ทั้งนี้บทบัญญัติของอัลลอฮฺ ก็จะมีอยู่สองประเภท 1) เป็นบทบัญญัติที่ชอบแห่งอารมณ์ เช่น ข้อคำสั่งให้กินในสิ่งที่ดี ให้แต่งงานกับผู้หญิงที่ชอบได้ถึงสี่คน และอื่นๆ 2) บทบัญญัติซึ่งเป็นที่มิชอบแห่งอารมณ์
ระดับของอีหม่าน(ความศรัทธา) จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงก็ด้วยการปฏิบัติตามคำสั่งหรือการละเมิดคำสั่งอัลลอฮฺในแต่ละบุคคล ท่านรซู้ลุลลอฮฺ( ศ็อลฯ) ยอมรับว่าความเกียจคร้านเป็นโรคทางจิตใจอย่างหนึ่งและท่านเองก็ขอดุอาจาก -
อัลลอฮฺ เพื่อปกป้องจากโรคร้ายต่อการศรัทธานี้ด้วยดุอาความว่า "โอ้พระผู้อภิบาลแห่งข้า แท้จริงข้าพระองค์ขอความคุ้มครองต่อพระองค์จากความกังวลใจและความโศกเศร้า ความอ่อนแอและความเกียจคร้าน ความขยาดและความตระหนี่ การติดหนี้ที่มากมายจนล้นตัว และการพ่ายแพ้ต่อผู้อื่น" (บันทึกโดย อัล-บุคอรีย์ 6369)

ศรัทธาชนผู้ร่วมละหมาดญุมอัต رحم كم الله ،
ความสำเร็จที่แท้จริงนั้นจะต้องยั่งยืนและทำให้ผู้สำเร็จได้รับความสุข ซึ่งเป็นความสุขเชิงมนุษยธรรมไม่ใช่ความสุขที่ถูกครอบงำโดยวัตถุ เพราะมันจะไม่จีรังยั่งยืน ที่มันจะอยู่กับตัวเราตราบที่เรามีชีวิตอยู่ และมันจะถูกเปลี่ยนมือเมื่อเราตายไป แต่ความสุขที่แท้จริงนั้นจะอยู่กับตัวเราไปตลอดทั้งเวลาที่มีชีวิตอยู่บนโลกมายาแห่งนี้และหลังจากเราตายไปสู่โลกอันนิจนิรันดรในโลกหน้า

การละหมาดเป็นเสมือนตัวเชื่อมระหว่างบ่าวคนหนึ่งกับพระเจ้าของเขา ซึ่งมุสลิมคนหนึ่งจะได้สัมผัสกับรสชาติที่แท้จริงในการเข้าหาพระเจ้าของเขาในขณะที่เขาละหมาด ดังนั้นสายตาของเขาจะไม่หลุกหลิก หัวใจสงบนิ่ง จิตใจผ่องแผ้ว เขาจึงบรรลุถึงสิ่งปรารถนาที่แท้จริง และด้วยการละหมาดอีกเช่นกันที่เขาสามารถผ่อนคลายจากความเหนื่อยล้าและความลำบากจากทางโลก

ศาสนาอิสลามนั้นประกอบด้วยองค์ประกอบหลักห้าองค์ประกอบคือการให้คำปฏิญาณว่าไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ การให้คำปฏิญาณว่ามูฮัมมัดนั้นเป็นบ่าวและเราะสูลของพระองค์ การดำรงไว้ซึ่งการละหมาด การจ่ายซะกาต การทำหัญจ์ที่บัยตุลลอฮฺ และการถือศีลอดเดือนเราะมะฎอน” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ)
แท้จริงสิ่งแรกที่มนุษย์จะถูกสอบถามในวันกิยามะฮฺจากการงานของพวกเขา ก็คือ การละหมาด หากพบว่าการละหมาดของเขาสมบูรณ์ เขาก็จะถูกประทับตรารับรองว่าสมบูรณ์ แต่หากการละหมาดของเขาบกพร่องส่วนหนึ่งส่วนใด อัลลอฮฺจะตรัสแก่มลาอิกะฮฺ ทั้ง ๆ ที่พระองค์ทรงรอบรู้ดียิ่งว่า พวกเจ้าจงดูซิว่า บ่าวของข้าคนนี้มีละหมาดสุนนะฮฺบ้างไหม? หากว่าเขามีละหมาดสุนนะฮฺ ก็จงทำให้การละหมาดฟัรฎูของของบ่าวผู้นี้สมบูรณ์ด้วยการละหมาดสุนนะฮฺของเขา แล้วกิจการงานอื่น ๆ ก็จะถูกสอบสวนในทำนองนี้" (เป็นหะดีษที่เศาะฮีหฺ บันทึกโดยอันนะสาอีย์)

รายงานจากท่านญาบิรฺ(D) กล่าวว่าได้ยินท่านนบี(J) กล่าวความว่า “แท้จริงสิ่งที่แยกแยะระหว่างชายคนหนึ่งกับการตั้งภาคี และการปฏิเสธต่ออัลลอฮฺนั้นคือการขาดละหมาด” (บันทึกโดยมุสลิม)

มีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ(D) กล่าวว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ(J) เคยกล่าวความว่า“ผู้ใดที่ทำวุฎูอฺที่บ้านของเขาหลังจากนั้น เดินออกจากบ้านเพื่อไปมัสญิดเพื่อไปละหมาดห้าเวลาที่อัลลอฮฺ ได้บัญญัติไว้ ในทุกๆ ย่างก้าวของสองเท้าเขานั้น ก้าวหนึ่งเขาจะได้รับการลดความผิดหนึ่งความผิด และอีกก้าวหนึ่งเขาจะได้รับการเพิ่มชั้นในสวรรค์” (บันทึกโดยมุสลิม : 666)

ศรัทธาชนผู้ร่วมละหมาดญุมอัต رحم كم الله ،

สิ่งที่ทำให้เกิดการคุชูอฺ(นอบน้อมสงบเสงี่ยม)ในละหมาดนั้นจะเกิดขึ้นได้ด้วยประการต่างๆ เหล่านี้ เช่น
1.ความเอาใจใส่กับการละหมาดอยู่ตลอดเวลา
2.ความเข้าใจความหมายที่รู้สึกได้กับสิ่งที่ได้อ่าน ได้ฟัง
3.ความรู้สึกสำนึกถึงความยิ่งใหญ่ของอัลลอฮฺ ซึ่งมักเกิดขึ้นหลังจากมีสองสิ่งดังกล่าวก่อน
4.ความรู้สึกยำเกรงต่ออัลลอฮฺ ซึ่งจะมีระดับสูงกว่าการสำนึกถึงความยิ่งใหญ่ของอัลลอฮฺ
5.ความหวังที่อยากจะได้รับผลบุญจากอัลลอฮฺ

สำหรับผู้ศรัทธาจะต้องไม่ยืนอยู่บนความพึงพอใจหากความรู้ศาสนายังมีไม่เพียงพอ ผู้ศรัทธาจะต้องอยู่ไม่เป็นสุขหากการละหมาดยังไม่ได้รับการปฏิบัติ เป็นฟัรฎูอัยน์หรือหน้าที่ที่ทุกคนจะต้องแสดงเจตจำนงอย่างแน่วแน่และแสดงความรับผิดชอบด้วยตัวเองอย่างเต็มความสำนึกเพื่อดำรงตนเป็นบ่าวผู้ภักดีต่ออัลลอฮฺ และสำหรับผู้ที่อยู่ด้วยกันไม่ว่าในฐานะใดก็ตาม ก็จะต้องหมั่นให้การตักเตือนทุกครั้งเมื่อถึงเวลา เพราะนั่นเป็นทางเดียวที่ได้รับการระบุไว้ในอัลกุรอานความว่า “และจงตักเตือนเถิด เพราะแท้จริงการตักเตือนนั้นจะให้ประโยชน์แก่บรรดาผู้ศรัทธา” อัซซารียาต:55

ศรัทธาชนผู้ร่วมละหมาดญุมอัต رحم كم الله ،
จงอย่าหยุดเพียรพยายามเพราะเมื่อใดที่เราหยุด ชัยฏอนก็จะครอบงำ และประกาศชัยชนะเหนือชีวิตเราทันที จงดิ้นรนต่อสู้เพื่อเอาชนะชัยฎอน และอารมณ์ใฝ่ต่ำให้จงได้
กุญแจความรู้คือการถามและการฟัง
กุญแจความสำเร็จคือการอดทน
กุญแจเพิ่มพูนปัจจัยคือการรู้จักพอ
กุญแจความปลอดภัยดุนยาและอาคีรัตคือการยำเกรง(ตักวา)
กุญแจความตอบรับคือการดุอา
กุญแจการละเมิดคือความหยิ่งยะโส
กุญแจละหมาดคือการทำความสะอาด
กุญแจฮัจญ์คือการครองอิฮรอม
กุญแจความดีคือการยึดมั่นในสัจธรรม และ
กุญแจสวนสวรรค์คือการละหมาด
"โอ้พระเจ้าของข้าพระองค์ ขอพระองค์ทรงให้ข้าพระองค์และจากลูกหลานของข้าพระองค์เป็นผู้ดำรงการละหมาด โอ้พระเจ้าของเรา ขอพระองค์ทรงตอบรับการวิงวอนของข้าพระองค์ด้วยอามีน" (อิบรอฮีม 40)

01 June 2011

Membudayakan Disiplin Diri

“You don’t have to change that much for it to make a great deal of difference. A few simple disciplines can have a major impact on how your life works out in the next 90 days, let alone in the next 12 months or the next 3 years.
– Anda tidak perlu berubah drastis untuk menciptakan perubahan besar dalam kehidupan Anda. Tetapi Anda hanya perlu menerapkan sedikit saja kedisiplinan, maka kehidupan Anda akan berubah pada 90 hari mendatang, bukan pada 12 bulan mendatang atau 3 tahun mendatang.”
Jim Rohn

Saya sengaja mengutip ungkapan dari Jim Rohn tersebut sebagai pengantar bahwa betapapun kecil kedisiplinan yang kita terapkan dapat menciptakan perubahan yang signifikan dalam kehidupan kita. Bukan hanya Jim Rohn, para motivator dan pebisnis sukses di dunia ini mengungkapkan hal yang senada. Padahal kita semua menyadari bahwa kedisiplinan belum sepenuhnya menjadi budaya masyarakat kita.

Sebenarnya apa arti kedisiplinan sehingga memberikan dampak yang begitu besar? Saya berpendapat bahwa kedisiplinan adalah sikap mental untuk melakukan hal-hal yang seharusnya pada saat yang tepat dan benar-benar menghargai waktu. Mekipun pengertian disiplin sangat sederhana, tetapi agak sulit untuk menerapkan konsep-konsep kedisiplinan tadi hingga membudaya kedalam kehidupan kita sehari-hari.

Contohnya mungkin Anda sudah mempunyai rencana-rencana yang ingin Anda wujudkan dalam minggu-minggu ini. Tetapi selepas liburan panjang atau sebab-sebab lain; misalnya sudah puas dengan hasil pekerjaan yang lalu, merasa kehilangan momentum, menyerah, atau meragukan prospek yang tergambar sebelumnya, Anda justru menjadi kurang bersemangat untuk bekerja kembali atau malas untuk memulai dan mengulur-ulur waktu.

Yang pasti banyak faktor yang dapat mengurangi tingkat kedisiplinan kita. Tetapi bukan berarti kita tidak dapat bersikap disiplin. Sedikit demi sedikit kita dapat melatih diri hingga konsep-konsep kedisiplinan itu benar-benar membudaya kedalam kehidupan kita. Saya mempunyai sedikit gambaran mengenai tindakan-tindakan yang dapat memudahkan kita membudayakan kedisiplinan berdasarkan pengalaman dan pengamatan. Bila Anda berhasil melatih diri dengan menjalankan tip-tip di bawah ini, saya yakin Anda sudah mencapai kemajuan yang fantastis.

Tip yang pertama adalah memikirkan apa sebenarnya yang Anda inginkan. Saya yakin kita semua mempunyai banyak sekali keinginan. Putuskan keinginan yang paling memungkinkan Anda wujudkan sebagai target harian. Pastikan setiap hari Anda memiliki suatu target yang realistis, jelas dan spesifik. Pastikan juga Anda sudah berusaha maksimal dan berhasil merealisasikan target-target tersebut setiap hari. Cara ini akan melatih Anda bertindak disiplin, sebab Anda dituntut untuk memprioritaskan aktifitas-aktifitas yang memungkinkan tercapainya target-target tersebut.

Selanjutnya luangkan sedikit waktu untuk orang-orang yang Anda cintai, sedikitnya 5 sampai 10 menit di sela kesibukan setiap hari. Atau bila tidak sempat bertemu secara langsung, Anda dapat memanfaatkan sarana telekomunikasi, misalnya telpon, internet, dan lain sebagainya. Tindakan itu sebenarnya sangat sederhana, tetapi sangat tepat dan bermanfaat tidak saja terhadap hubungan eksternal melainkan memperbaiki hubungan dengan hati serta memenuhi kodrat kita sebagai mahluk yang membutuhkan cinta dan hubungan sosial.

Kemudian bila kita rutin melatih diri dengan berolah raga minimal 2-3 kali seminggu, berarti kita sudah melaksanakan program mendisiplinkan diri. Olah raga rutin menjadikan kesehatan kita membaik. Mensana in corporesano – didalam tubuh yang sehat terdapat jiwa yang sehat pula. Bila kondisi kesehatan membaik, maka secara otomatis penampilan kita akan lebih bugar, kepercayaan dan tingkat energi kitapun akan meningkat untuk bertindak cepat dan tepat menangkap peluang yang ada. Maka segera putuskan jenis olah raga yang sesuai dengan kesehatan dan kesenangan Anda.

Pengalaman saya selama mengikuti latihan kemiliteran, setiap pagi saya harus bangun pagi dan melakukan marching atau berbaris sambil mengucapkan ‘kiri kanan’ dan lain sebagainya sampai ribuan kali. Saya kira dalam peperangan hanya ada kata membunuh atau dibunuh! Sedangkan latihan fisik, misalnya kegiatan marching seperti itu sama sekali tidak ada kaitannya dengan peperangan, dimana dalam organisasi itu kami dipersiapkan sebagai pasukan tempur. Belasan tahun berikutnya, saya baru menyadari bahwa proses latihan-latihan fisik tersebut telah menempa sikap mental saya untuk disiplin terhadap waktu serta gigih berjuang hingga menjadi yang terbaik meski harus menghadapi tantangan yang terberat sekalipun.

Sementara tips melatih kedisiplinan lainnya adalah dengan membiasakan diri hanya mengkonsumsi makanan yang sehat dan bergizi serta menerapkan pola makan yang baik. Bukan berarti makanan kita harus mahal atau dibeli dari restoran elit. Contoh makanan yang sehat dan bergizi adalah bermacam jenis buah dan sayuran. Bila makanan kita selalu sehat dan bergizi, maka dapat dipastikan energi dan vitalitas kita meningkat untuk mengerjakan tanggung jawab secara tepat dan cepat hingga mencapai hasil yang terbaik.

Proses saat beribadah kepada Tuhan YME merupakan apresiasi yang terdalam dan mendapatkan kedamaian hati. Tetapi beribadah atau mendekatkan diri kepada Tuhan YME sebenarnya juga merupakan latihan kedisiplinan yang paling utama. Contohnya umat Islam yang menjalankan ibadah 5 kali sehari, umat Kristiani sekali setiap hari Minggu, umat Buddha setiap pagi dan sore, dan lain sebagainya. Kepatuhan untuk melaksanakan rutinitas ibadah sesuai aturan agama tentu saja melatih kedisiplinan, sekaligus memperkaya hati dan jiwa kita dengan kedamaian, percaya diri, kreatifitas dan energi cinta Tuhan Yang Maha Kuasa.

Selain itu, seluruh agama di dunia ini tentu menganjurkan kita menjaga kebersihan baik secara internal maupun eksternal. Maka latihan kedisiplinan meliputi kebiasaan untuk menjaga kondisi di sekeliling kita agar selalu bersih dan teratur. Bila lingkungan kita bersih dan teratur, maka kita akan merasa lebih bebas dan senang, serta pikiran kita akan lebih jernih untuk menyelesaikan tugas dan mewujudkan target-target harian tadi.

Selepas kita mempraktekkan beberapa tips latihan mendisiplinkan diri seperti yang diuraikan diatas dan sudah mendapatkan kemajuan, maka tips latihan kedisiplinan pamungkasnya adalah menunda keinginan untuk berpuas diri. “One of the best ways to develop discipline is to delay gratification. – Cara terbaik untuk meningkatkan kedisiplinan adalah menunda keinginan untuk berpuas diri.” Penundaan bukan selalu pertanda buruk. Sebab penundaan untuk tidak berpuas diri dulu selama ini selalu menyebabkan karakter disiplin saya lahir kembali. Semakin saya gunakan prinsip tersebut, saya menciptakan semakin banyak kemajuan dalam hal keuangan, hubungan sosial, spiritual dan bisnis.

Saya ingin menegaskan bahwa kedisiplinan maupun kesuksesan menuntut kita melakukan hal-hal yang benar dan bukan hal-hal yang kita sukai. Sebuah pepatah mengatakan, “If you would live your life with ease; do what you ought, not what you please. – Jika kamu ingin mengisi kehidupanmu dengan kebahagiaan, maka selesaikan apa yang menjadi tanggung jawabmu, dan bukan hanya mengerjakan apa yang kau suka.” Meskipun melakukan hal yang benar awalnya tidak kita sukai. Tetapi bila kita mendisiplinkan diri dengan secara rutin melaksanakannya, maka berangsur-angsur kita akan menyukainya atau bahkan menjadi bagian dari kesadaran pribadi dan kita senang melakukannya.

Orang-orang yang sukses adalah orang-orang yang selalu menerapkan kedisiplinan dalam kehidupan mereka sehari-hari. Cobalah menerapkan kedisiplinan dalam kehidupan, dan Anda tidak akan pernah menyesal. Bila kedisiplinan sudah menjadi bagian dari kesadaran atau budaya pribadi kita, berarti kita sudah membangun dasar yang kehidupan yang kuat sebagai seorang yang sukses dan selalu bersemangat. Selamat mencoba.

* Andrew Ho adalah motivator, penulis buku best seller, dan pengusaha.

31 May 2011

10 Kunci Kejayaan Di Dunia Dan Akhirat

Dr.Dato' Hj.Mohd.Fadzilah Kamsah
Dalam tips motivasi kali ini saya akan berkongsi dengan anda 10 kunci kejayaan dunia dan akhirat. Kata lain, faktor yang menentukan kejayaan kita. Tips ini sudah lama dalam simpanan saya, kini tibalah masanya untuk dikongsikan bersama anda.

Kadang-kadang dalam mengejar kecemerlangan, ramai antara kita terperangkat dalam ‘kepompong’ diri, maksudnya tidak tahu cara untuk melepasi self-limits atau batasan diri yang tidak ternampak oleh kita, namun di nampak oleh orang lain seperti kawan rapat kita, ahli keluarga, pensyarah, guru, atau pun sahabat kita.

Orang-orang yang mampu melintasi self limits atau batasan diri ini sebenarnya mengetahui kunci-kunci untuk membuka pintu kejayaan dunia dan akhirat.

Dato’ Dr Hj Mohd Fadzilah Kamsah memanggil apa yang saya ditulis ini sebagai “Menerobos Sempadan Diri“.
Di bawah ini adalah senarai 10 kunci kejayaan dunia dan akhirat :
1. Kunci ilmu adalah bertanya dan mendengar.
2. Kunci kemenangan adalah sabar.
3. Kunci tambahnya nikmat ialah perasaan syukur.
4. Kunci keselamatan dunia dan akhirat adalah taqwa.
5. Kunci untuk termakbulnya permintaan adalah doa.
6. Kunci maksiat adalah kesombongan.
7. Kunci solat adalah taharah.
8. Kunci ibadah haji adalah ihram.
9. Kunci kebaikan adalah berpegang kepada yang benar.
10. Kunci syurga adalah tauhid.


Source: myUPSR