28 December 2009
Language is a key to Southern Stability
Foreign scholars at a recent seminar in Bangkok co-organised by Walailak and Chulalongkorn universities strongly advised allowing ethnic Malay Muslims in the deep South to use the Yawi dialect in primary school as a way to peace. They argued that it would not further separatist sentiments in the South, but would instead create respect toward the central government in Bangkok. Ahmad Fathy al-Fatani, a renowned Islamic scholar from Malaysia, said the Muslims in southern Thailand had pride in their historic language and that Bangkok-initiated efforts to assimilate the Thai language into the region did not bode well for the people-state relationship.
''Thanks to Patani Ulama [14-15th century Muslim scholars from the Patani region], the Malayu language has been widely used in Islamic studies and also in daily life ... Mixing Thai language in primary schools for those speaking Malayu has only confused the kids _ they cannot do well in either the Thai or Yawi languages,'' said Mr Ahmad, whose book Patani History has been widely cited by Thai academics.
He pointed out that in many countries, such as Russia, South Africa, Malaysia and Indonesia, minority languages are widely spoken.
''Why doesn't Bangkok allow the use of Yawi in primary school? I believe if they do so, tension in southern Thailand will be eased up,'' said the independent researcher at the Dec 11-12 seminar on ''The Phantasm in Southern Thailand: Historical Writings on Patani and the Islamic World.'' The ancient Patani Kingdom included much of northern Malaysia as well as what is now the southernmost region of Thailand.
Administrative control over the South was abruptly instated by the central government in 1909, but the culture and language were allowed to remain intact, said the Malaysian scholar, who questioned why Bangkok should now feel that the use of the Yawi language in school is inappropriate.
Hatib Abdul Kadir, of the Gadjah Mada University Centre for Religious and Cross-cultural Studies (CRCS), said Bangkok should not be so paranoid as to think that allowing the local language to be widely spoken would create some form of separation.
''Look at Indonesia since Suharto's fall, people are no longer forced to use only Bahasar. In fact, if you allow freedom of language, the local people will feel grateful and more loyal to the central government. Bangkok will be respected by the Muslim southerners if their language is well-recognised. There will be less resistance if their identity can be formally expressed,'' said Mr Hatib, who is from the Indonesian province of Yogyakarta .
The Indonesian scholar also said that cross-cultural and inter-religious dialogue would only work through for mal education within the society.
Conflict in southern Thailand is supposed to be solved not only by political and security means, but also by understanding the religious contexts of the situation, he said.
To overcome the conflicts, he said, an effort needs to be made to initiate a dialogue for reconciliation that is inclusive and seeks atonement and forgiveness for the adherents of every faith.
Suhaimi Awae of Yala Technical College said the preservation of the Malayu language and Yawi alphabet meant recognition of their identity for Muslims in the deep South, and pointed out that Unesco had in 2003 recognised Yawi for its ''intangible'' contribution to world heritage. ''Reading, writing and speaking in their own language is symbolic of the preservation of their identity for the people in this region. It is an articulation of their pride.''
Domestic and foreign scholars at the seminar were eager to discuss a number of topics relating to the glory of Patani's past and agreed there was a glaring need for the people to be able to actively express their cultural identity.
The calls for recognition of the Yawi language have played a central part in the political discourse coming out of the predominantly Malay-Muslim region in the past several years. Like wearing the hajib _ once a source of tension before becoming commonplace across the country _ the Yawi dialect issue might also have to face serious debates, especially among security authorities.
Not so long ago, the government of Surayud Chulanont boldly announced it would allow Yawi as a working language for government officials in the three southernmost provinces and would ensure that there were an adequate number of Malay-speaking officials.
The announcement followed the recommendation of the government-appointed, but independent, National Reconciliation Commission (NRC), but it was fiercely objected to by Privy Council President Prem Tinsulanonda, who said the Thai language should be used throughout the Kingdom.
But it was not only Gen Prem's objections that killed this and other proposals from the NRC. The rest of the country, including the Bangkok elites, are for the most part ignorant of the history of the region and have no clue what to do with the ''different and demanding'' Malay-Muslim people.
The merits of the 132-page NRC report, which urges the promotion of cultural respect and social diversity as well as making Yawi an additional working language, should be re-considered, as suggested by the scholars at the seminar.
After all, despite the different cultural features, the deep South has remained closely integrated economically and socially with the rest of Thailand, much like the formerly Khmer-controlled Isan and Lanna-influenced Chiang Mai.
Bangkok should learn to appreciate or at least understand why keeping the Yawi dialect is such an important issue for the people in the restive South.
Through the course of 19th century the Malay language (with Yawi alphabet) was a significant tool to spread and intensify Islam through Yawi texts. It complimented the Arabic language in Islamic discourse throughout the region, which produced a number of key Ulama (community of learned men) for the Islamic world, including Shaykh Dawud Fatani (1769-1847),
But recognition of this should not lead to negligence in the southern people of the fact that Patani's glorious past had other ethnic attributes.
Patani in earlier days (16th-17th century) was a hybrid of commercial networks between Chinese, Malay, and Siamese communities, all of whom contributed to its success as destinations for China's trading vessels.
As renowned historian Anthony Reid said at the seminar, a Malay identity was forged among those who came and made Patani their home, Islam their religion, and Malay their lingua franca.
We should expect a substantial accommodation for Chinese, Japanese and other immigrants in Thai Buddhism as well. Mr Reid said there were multiple religious options for the Chinese settlers before the harder lines of the 20th century separated Thai, Malay and Chinese modes of worship as necessarily different.
The overwhelming conclusion of the seminar was that tolerance and open-mindedness are the key to establishing peace in the deep South.
From :BangkokPost,Sunday edition
25 December 2009
Muharram: The Start of the Islamic Calendar
By: Muhammad Taqi Usmani
IslamiCity* -
Muharram is the month with which the Muslims begin their lunar Hijrah Calendar. It is one of the four sanctified months about which the Holy Quran says, "The number of the months according to Allah is twelve months (mentioned) in the Book of Allah on the day in which He created heavens and the earth. Among these (twelve months) there are four sanctified".
These four months, according to the authentic traditions are the months of Zulqadah, Zulhijjah, Muharram and Rajab. All the commentators of the Holy Quran are unanimous on this point, because the Holy Prophet in his sermon on the occasion of his last Hajj, has declared:
"One year consists of twelve months, of which four are sanctified months, three of them are in sequence; Zulqadah, Zulhijjah, Muharram, and the fourth is Rajab."
The specific mention of these four months does not mean that any other month has no sanctity, because the month of Ramadan is admittedly the most sanctified month in the year. But these four months were specifically termed as sanctified months for the simple reason that their sanctity was accepted even by the pagans of Makkah.
In fact, every month, out of the twelve, is originally equal to the other, and there is no inherent sanctity, which may be attributed to one of them in comparison to other months. When Allah Almighty chooses a particular time for His special blessings, then it acquires sanctity out of His grace.
Thus, the sanctity of these four months was recognized right from the days of Sayyidina Ibrahim. Since the Pagans of Makkah attributed themselves to Sayyidina Ibrahim they observed the sanctity of these four months and despite their frequent tribal battles, they held it unlawful to fight in these months.
In the Shariah of our Holy Prophet the sanctity of these months was upheld and the Holy Quran referred to them as the "sanctified months".
The month of Muharram has certain other characteristics peculiar to it, which are specified below.
Fasting during the month
The Holy Prophet has said:
"The best fasts after the fasts of Ramadan are those of the month of Muharram."
Although the fasts of the month of Muharram are not obligatory, yet, the one who fasts in these days out of his own will and choice is entitled to a great reward by Allah Almighty. The Hadith cited above signifies that the fasts of the month of Muharram are most reward-able ones among the Nafl fasts i.e. the fasts one observes out of his own choice without being obligatory on him.
The Hadith does not mean that the award promised for fasts of Muharram can be achieved only by fasting for the whole month. On the contrary, each fast during this month has merit. Therefore, one should avail of this opportunity as much as he can.
The day of Ashurah
Although the month of Muharram is a sanctified month as a whole, yet, the 10th day of Muharram is the most sacred among all its days. The day is named Ashurah.
According to the Holy companion Ibn Abbas. The Holy Prophet , when migrated to Madinah, found that the Jews of Madinah used to fast on the 10th day of Muharram. They said that it was the day on which the Holy Prophet Musa (Moses) and his followers crossed the Red Sea miraculously and the Pharaoh was drowned in its water.
On hearing this from the Jews, the Holy Prophet said, "We are more closely related to Musa than you" and directed the Muslims to fast on the day of Ashurah. (Abu Dawood)
It is also reported in a number of authentic traditions that in the beginning, fasting on the day of Ashurah was obligatory for the Muslims.
It was later that the fasts of Ramadan were made obligatory and the fast on the day of ''Ashurah was made optional. Sayyidah Aishah has said:
"When the Holy Prophet came to Madinah, he fasted on the day of Ashurahh and directed the people to fast it. But when the fasts of Ramadan were made obligatory, the obligation of fasting was confined to Ramadan and the obligatory nature of the fast of Ashurah was abandoned. One can fast on this day, if he so wills, or can avoid fasting, if he so wills."
However, the Holy Prophet used to fast on the day of Ashurah even after the fasting in Ramadan was made obligatory.
Abdullah Ian Masud reports that the Holy Prophet preferred the fast of Ashurah to the fast of other days and preferred the fast of Ramadhan to the fast of Ashurahh. (Bukhari and Muslim)
In short, it is established through a number of authentic hadith that fasting on the day of Ashurah is Sunnah of the Holy Prophet and makes one entitled to a great reward.
According to another Hadith, it is more advisable that the fast of Ashurah should either be prefixed or suffixed by another fast. It means that one should fast two days: the 9th an 10th of Muharram or the 10th and 11th of it. The reason of this additional fast as mentioned by the Holy Prophet is that the Jews used to fast on the day of Ashurah alone, and the Holy Prophet wanted to distinguish the Islamic-way of fasting from that of Jews. Therefore, he advised the Muslims to add another fast to that of Ashurah.
Some traditions signify another feature of the day of Ashurah.
According to these traditions one should be more generous to his family by providing more food to them on this day as compared to other days. These traditions are not very authentic according to the science of Hadith. Yet, some Scholars like Baihaqi and Ibn Hibban have accepted them as reliable.
What is mentioned above is all that is supported through authentic sources about Ashurah.
However, there are some legends and misconceptions with regard to Ashurah that have managed to find their way into the minds of the ignorant, but have no support of authentic Islamic sources, some very common of them are these:
This is the day in which Adam was created.
This is the day in which Ibrahim was born.
This is the day in which Allah accepted the repentance of Sayyidina Ibrahim.
This is the day on which the Qiyamah (dooms-day) will take place.
Whoever takes bath in the day of Ashurah will never get ill.
All these and other similar whims and fancies are totally baseless and the traditions referred to in this respect are not worthy of any credit.
Some people take it as Sunnah to prepare a particular type of meal in the day of Ashurah. This practice, too, has no basis in the authentic Islamic sources.
Some other people attribute the sanctity of Ashurah to the martyrdom of Sayyidina Husain during his battle with the Syrian army. No doubt, the martyrdom of Sayyidina Husain is one of the most tragic episodes of our history. Yet, the sanctity of Ashurah cannot be ascribed to this event for the simple reason that the sanctity of 'Ashurah was established during the days of the Holy Prophet much earlier than the birth of Sayyidna Husain.
On the contrary, it is one of the merits of Sayyidna Husain that his martyrdom took place on the day of Ashurah.
Another misconception about the month of Muharram is that it is an evil or unlucky month, for Sayyidna Husain was killed in it. It is for this misconception that people avoid holding marriage ceremonies in the month of Muharram. This is again a baseless concept which is contrary to the express teachings of the Holy Quran and the Sunnah. Such superstitions have been totally negated by the Holy Prophet . If the death of an eminent person in a particular day renders that day unlucky for all times to come, one can hardly find a day, free from this bad luck, out of 365 days of the whole year, because each and every day has a history of the demise of some eminent person. The Holy Quran and the Sunnah of the Holy Prophet have made us free from such superstitious beliefs, and they should deserve no attention.
Another wrong practice related to this month is to hold the lamentation and mourning ceremonies in the memory of martyrdom of Sayyidna Husain.
As mentioned earlier, the event of Karbala is one of the most tragic events of our history, but the Holy Prophet has forbidden us from holding the mourning ceremonies on the death of any person. The people of Jahiliyyah (Ignorance) used to mourn over their deceased relatives or friends through loud lamentations, by tearing their clothes and by beating their cheeks and chests. The Holy Prophet stopped the Muslims from doing all this and directed them to observe patience by saying "Inna lillaahi wa innaa ilayhi raaji oon". A number of authentic hadith are available on the subject.
To quote only one of them:
"He is not from our group who slaps his cheeks, tears his clothes and cries in the manner of the people of jahiliyyah."
All the authentic jurists are unanimous on the point that the mourning of this type is absolutely impermissible. Even Sayyidna Husain shortly before his demise, had advised his beloved sister Sayyidah Zainab not to mourn over his death in this manner. He said:
"My dear sister, I swear upon you that you, in case I die, shall not tear your clothes, nor scratch your face, nor curse anyone for me or pray for your death".
It is evident from this advice of Sayyidna Husain that this type of mourning is condemned even by the blessed person for the memory of whom these mourning ceremonies are held. Every Muslim should avoid this practice and abide by the teachings of the Holy Prophet and his beloved grand child Sayyidina Husain.
Blessings of Muharram
It is the first month of the Islamic Calendar.
The meaning of the word:- The word "Muharram" means "Forbidden." Even before Islam, this month was always known as a scared month in which all unlawful acts were forbidden, prominently the shedding of blood.
A blessing of Muharram:- There are many bounties of this month, especially the tenth of Muharram.
Two of the many virtues of the 10th of Muharram:-
On this day he who spends more lavishly for the sake of his family members, Allah Taala will bestow blessing upon the sustenance of the following year.
Abu Qataada has related that the Prophet has reported to have said, It is my thought that by fasting on the 10th of Muharram Allah Taala will pardon the sins of the past year. (Tirmizi)
Events of Muharram
Hadhrat Hussain was martyred in this month.
Shaykhain Tirmizi & Haakim has narrated from Anas that the following verse:
"Allah may forgive thee of thy sins that which is past and that which is to come." (Al-Fath) was revealed on the 10th of Muharram.
The Prophet Muhammed went to defeat Bani Muhaarin and Bani Tha'laba (Tribes of Bani Gatfan) in the year 4 A.H. (Asahhus-siyar)
06 December 2009
Patani Conference
เชิญร่วมสัมมนา ภาพหลอน ณ ชายแดนใต้
“The Phantasm in Southern Thailand: Historical Writings on Patani and the Islamic World”
International Conference Organized by Regional Studies Program (Southeast Asia), Walailak University Department of History, Faculty of Arts, Chulalongkorn University,National Discovery Museum Institute Thailand Research Fund (TRF)
11-12 December 2009
Mahachulalongkorn Building, Chulalongkorn University, Bangkok THAILAND
เชิญอ่านบทคัดย่อ
ภาษามลายูปาตานี มรดกตกทอดทางอารยธรรมอันภาคภูมิใจแห่งโลกมลายู โดย ซูฮัยมีย์ อาแว
20 November 2009
19 November 2009
Bila Solat Eid Pada Hari Jumaat...
السلام عليكم ورحمة الله وبركاته
Ibnu Taimiyah sewaktu menjawab soalan mengenai dua solat,Jumaat dan Eid bertembungan secara kebetulan sebagai;
Qaul 1. Solat Jumaat selepas solat Eid: Wajib seperti biasa
Qaul ke 2. Solat Jumaat selepas solat Eid:Tidak perlu bagi penduduk luar bandar dan mereka yang berpindah randah.Suatu mafhum dari Usman Ibni Affan telah memberi kemudahan kepada mereka supaya menunaikan solat Zuhri dirumah masing-masing selepas selesai solat Eid.
Qaul ke 3.Yang dianggapkan sebagai yang betul bahawa tidak ada solat jumaat di hari yang sudah berlaku solat raya kerana telah menepati maksud berhimpun dan telah mendengar khutbah, pendapat ini ada sabit pada masa rasulluLLAH
Sila semak dalam bahasa Arab dibawah:
وسئل رحمه الله عن رجلين تنازعا فى العيد إذا وافق الجمعة فقال أحدهما يجب أن يصلي العيد ولا يصلي الجمعة وقال الآخر يصليها فما الصواب فى ذلك
فأجاب الحمد لله إذا اجتمع الجمعة والعيد فى يوم واحد فللعلماء فى ذلك ثلاثة أقوال
أحدها أنه تجب الجمعة على من شهد العيد كما تجب سائر الجمع للعمومات الدالة على وجوب الجمعة
والثانى تسقط عن أهل البر مثل أهل العوالى والشواذ لأن عثمان بن عفان أرخص لهم فى ترك الجمعة لما صلى بهم العيد
والقول الثالث وهو الصحيح أن من شهد العيد سقطت عنه الجمعة لكن على الامام أن يقيم الجمعة ليشهدها من شاء شهودها ومن لم يشهد العيد وهذا هو المأثور عن النبى وأصحابه كعمر وعثمان وابن مسعود وبن عباس وبن الزبير وغيرهم ولا يعرف عن الصحابة فى ذلك خلافوأصحاب القولين المتقدمين لم يبلغهم ما فى ذلك من السنة عن النبى لما اجتمع فى يومه عيدان صلى العيد ثم رخص فى الجمعة وفى لفظ أنه قال أيها الناس إنكم قد أصبتم خيرا فمن شاء أن يشهد الجمعة فليشهد فإنا مجمعون
وأيضا فإنه إذا شهد العيد حصل مقصود الإجتماع ثم إنه يصلي الظهر إذا لم يشهدالجمعة فتكون الظهر فى وقتها والعيد يحصل مقصود الجمعة وفى ايجابها على الناس تضييق عليهم وتكدير لمقصود عيدهم وما سن لهم من السرور فيه والانبساط
فإذا حبسوا عن ذلك عاد العيد على مقصوده بالابطال ولأن يوم الجمعة عيد ويوم الفطر والنحر عيد ومن شأن الشارع إذا اجتمع عبادتان من جنس واحد أدخل احداهما فى الأخرى كما يدخل الوضوء فى الغسل وأحد الغسلين فى الآخر والله أعلم.
انظر مجموع الفتاوى ( 24/ 210- 211)
ท่านชัยคุลอิสลามอิบนุตัยมียะฮฺถูกถามว่า ชายสองคนได้ขัดแย้งกันในประเด็นว่า เมื่อวันอีดตรงกับวันศุกร์ คนหนึ่งกล่าวว่า จำต้องละหมาดอีดและไม่ต้องละหมาดญุมุอะฮฺ อีกคนหนึ่งกล่าวว่า ต้องละหมาดญุมุอะฮฺเช่นเดียวกัน ทัศนะใดที่ถูกต้อง ?
ท่านอิบนุตัยมียะฮฺตอบว่า เมื่อวันศุกร์ตรงกับวันอีดในวันเดียวกัน บรรดาอุละมาอฺมีอยู่ 3 ทัศนะ
ทัศนะแรก - การละหมาดญุมุอะฮฺเป็นวาญิบ(จำเป็นต้องทำ)สำหรับคนที่ได้ละหมาดอีดด้วย ดังเช่นทุกวันศุกร์ เนื่องด้วยหลักฐานต่างๆที่บ่งถึงความจำเป็นในการปฏิบัติละหมาดญุมุอะฮฺ (หมายถึงไม่มีข้อเว้น)
ทัศนะที่ 2 - การละหมาดญุมุอะฮฺไม่ต้องปฏิบัติสำหรับชาวชนบทและคนเร่ร่อน เพราะท่านอุษมาน อิบนุอัฟฟาน ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ อนุโลมให้คนกลุ่มนี้ละทิ้งการละหมาดญุมุอะฮฺเมื่อท่านได้ละหมาดอีดกับพวกเขา(หมายรวมว่า อนุญาตไม่ให้ละหมาดยุมุอะฮฺที่มัสญิด แต่ให้ละหมาดดุฮฺริที่บ้านของตนก็ได้)
ทัศนะที่ 3 - ซึ่งเป็นทัศนะที่ถูกต้องคือ ใครที่ละหมาดอีดแล้วการละหมาดญุมุอะฮฺก็ถูกเว้นไป แต่สำหรับอิหม่ามจำต้องดำรงการละหมาดญุมุอะฮฺเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่ประสงค์จะละหมาดญุมุอะฮฺได้มีที่ละหมาดและสำหรับคนที่ไม่ได้ละหมาดอีด(จะได้มีที่ละหมาดญุมุอะฮฺด้วย) และนั่นคือการปฏิบัติที่มีรายงานจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม และสาวกของท่าน อาทิเช่น ท่านอุมัร, อุษมาน, อิบนุมัสอู๊ด, อิบนุอับบาส, อิบนุซุบัยรฺ, และอื่นๆ โดยไม่มีทัศนะอื่นจากเศาะฮาบะฮฺดังกล่าวที่แย้งกับทัศนะนี้ และสำหรับสองทัศนะแรกเขาก็ไม่ได้รับรู้หลักฐานจากซุนนะฮฺของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม เกี่ยวกับกรณีวันศุกร์ตรงกับวันอีด ซึ่งท่านนบีละหมาดอีดและอนุโลม(ให้เว้น)การละหมาดญุมุอะฮฺ และมีอีกสำนวนหนึ่งท่านนบีกล่าวว่า "โอ้ผู้คนทั้งหลาย แท้จริงพวกท่านได้ประสบความดีแล้ว(คือละหมาดอีด) ดังนั้นใครประสงค์ที่จะละหมาดญุมุอะฮฺ(ด้วย)ก็จงปรากฏตัว เพราะเราจะละหมาดญุมุอะฮฺ(ด้วย)"
อนึ่งผู้ที่ละหมาดอีดแล้วจะถือว่าประสบวัตถุประสงค์ของการชุมนุม(ในวันศุกร์) และจำเป็นต้องละหมาดดุฮฺริถ้าไม่ได้ละหมาดญุมุอะฮฺ โดยละหมาดดุฮฺริตามเวลา เพราะการละหมาดอีดนั้นได้บรรลุเป้าหมายของละหมาดญุมุอะฮฺแล้ว และการบังคับให้ผู้คน(ละหมาดญุมุอะฮฺด้วย) เป็นความลำบากสำหรับพวกเขา และอาจขัดกับเป้าหมายของวันอีดที่ส่งเสริมให้สนุกสนานและประพฤติตัว(ตามอัธยาศัย) ซึ่งหากพวกเขาถูกบังคับให้ละหมาดญุมุอะฮฺก็เป็นการทำลายเป้าหมายของวันอีด ซึ่งวันญุมุอะฮฺเป็นอีดและวันอัลฟิฏรฺ(อีดเล็ก)กับวันอันนะหรฺ(อีดใหญ่)เป็นวันอีดเช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นนโยบายของพระผู้บัญญัติเมื่อมีอิบาดะฮฺสองชนิดได้ปรากฏพร้อมกันก็จะประสมประสานกันเช่นเดียวกับการอาบน้ำละหมาดที่เข้าอยู่ในการอาบน้ำญะนาบะฮฺ วัลลอฮุอะอฺลัม
(อ้างอิงจาก มัจญฺมูอฺอัลฟะตาวา, ชัยคุลอิสลามอิบนุตัยมียะฮฺ เล่ม 24 หน้า 210-211)
Contoh yang mesti di tauladani
ตัวอย่างที่ควรจะได้รับการปฎิบัติให้เป็นแบบอย่างที่แม้แต่ศัตรูทางการเมืองก็ยังต้องชมในความเฉลียวฉลาด และรอบคอบของโต๊ะครูที่ปฏิบัติหน้าที่ผู้นำทางการเมืองบริหารท้องถิ่นอย่างโปร่งใส
โต๊ะคูรูนิกอับดุลอาซิส นิกมัต มุขมนตรีประจำรัฐกลันตัน ที่ปรึกษาพรรคอิสลามแห่งมาเลเซีย(ปาส)ล้มเลิกความตั้งใจที่จะไปประกอบพิธีฮัจญ์ในปีนี้ เนื่องจากรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีที่ควบคุมดูแลองค์กรอิสระเพื่อป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบกล่าวว่าเมื่อท่านโต๊ะคูรูนิกอับดุลอาซิส นิกมัต เปิดเผยเองว่า ท่านได้รับการสนับสนุนจากบุคคลหนึ่งให้ไปทำฮัจญ์ในปีนี้ โดยข้อมูลดังกล่าวได้รับการเผยแพร่ผ่านสื่อทุกชนิด ก็เป็นเรื่องจำเป็นที่หน่วยงานที่ดูแลด้านการป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบต้องเข้ามาดู และเมื่อท่านยืนยันว่าท่านจะไม่ไปเรื่องก็จบ นัซรี อาซิส รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีกล่าว
พร้อมทั้งชื่นชมว่า ท่านเป็นคนตรงไปตรงมา ไม่มีเลศนัย จริง ๆ แล้วถ้าท่านจะไปก็ไปได้ไม่ต้องไปพูดอะไรเพราะใคร ๆ ก็รูว่าท่านมีความสามารถที่จะไป
KOTA BHARU, 18 Nov: Keputusan Tuan Guru Datuk Nik Abdul Aziz Nik Mat membatalkan hasrat mengerjakan haji ke Makkah tahun ini dianggap Menteri di Jabatan Perdana Menteri, Datuk Seri Mohamed Nazri Aziz boleh menyelesaikan isu.
“Tindakan Menteri Besar Kelantan mengambil keputusan membatalkan hasrat mengerjakan haji memudahkan kerja kami.
“Memang penajaan sebenarnya bukan rasuah, tetapi memandangkan Tuan Guru seorang Menteri Besar, ia tidak boleh berlaku perkara sedemikian.
“Tidak ada masalah sesiapa pun nak menaja Tok Guru pergi ke Makkah, tetapi kedudukannya sebagai Menteri Besar,” ujarnya kepada media selepas mengunjungi Menteri Besar, di pejabatnya petang tadi.
Jumaat lalu Tuan Guru Nik Abdul Aziz membatalkan hasrat menunaikan haji disebabkan isu ada pihak memperbesarkan isu tajaannya untuk ke Makkah.
Nazri berkata, Suruhanjaya Pencegahan Rasuah Malaysia (SPRM) selaku badan bebas melakukan siasatan berdasarkan laporan dalam akhbar dan bukannya melalui mana-mana individu.
Katanya, Tuan Guru Nik Abdul Aziz sendiri mengeluarkan kenyataan beliau ditaja seseorang ke Makkah.
“Pada saya, Nik Aziz mengeluarkan satu kenyataan tanpa rasa bersalah kerana kalau tok guru nak pergi, dia tak perlu cakap, tetapi dalam hal ni dia cakap dan dia sendiri bukan ada niat apa-apa.
“Kalau dia betul nak pergi, dia tak payah cerita daripada mana dia dapat duit, kita pun tahu dia ada duit, tapi Tok Guru ni seorang yang lurus,” ujarnya.
Beliau juga berkata, sebagai contoh jika seseorang itu memberikan rasuah dan meletak wang di atas meja tanpa diusik orang yang ingin dirasuah, ia belum boleh dikaitkan dengan rasuah.
ข้อมูลจากหนังสือพิมพ์ฮารอกะห์
18 November 2009
السعودية تعلن الأربعاء أول أيام شهر ذي الحجة
السلام عليكم ورحمة الله وبركاته
Kerajaan Saudi umum tarikh wukuf dan Eid al Adha
ซาอุฯประกาศวันพุธที่ 18 เป็นวันที่ 1 ซุลหิจญะฮฺ
ดังนั้น วันวุกูฟที่อะเราะฟะฮฺคือ วันพฤหัสฯ 26 พฤศจิกายน
และวันอีดอัล-อัฎหาคือ วันศุกร์ 27 พฤศจิกายน
Diumumkan bahawa hari Rabu (18 Nov.09)adalah awal bulan Zulhijjah 1430 dan tarikh wuquf adalah pada hari Khamis 26 Nov.09 dan Jumaat 27 Nov.09 sebagai Hari Raya Aidil Adha 1430.
أعلنت المملكة العربية السعودية أن الأربعاء هو أول أيام شهر ذي الحجة، وعليه يكون الوقوف بعرفة هو يوم الخميس الموافق الـ 26 من نوفمبر 2009، والجمعة 27 نوفمبر هو أول أيام عيد الأضحى المبارك.
وقالت المحكمة العليا السعودية: إن الوقوف بصعيد عرفة سيكون يوم الخميس بعد المقبل، في حين سيكون يوم الجمعة أول أيام العيد.
وكانت المحكمة العليا السعودية دعت عموم المسلمين في جميع أنحاء المملكة إلى تحري رؤية هلال شهر ذي الحجة مساء الثلاثاء.
وأكدت السلطات السعودية على ضرورة رؤية الهلال بالعين المجردة وأقرت مؤخرًا إمكانية رؤية الهلال بالمناظير وهو ما كان مستبعدًا من قبل.
ويعد تحديد بداية شهر ذي الحجة حاسمًا لمعرفة توقيت وقوف الحجاج على جبل عرفات، الركن الأهم في ركن الحج.
ومن المتوقع أن يصل عدد الحجاج القادمين من خارج المملكة هذا العام لأداء الحج إلى حوالي نحو مليوني حاج من جميع أنحاء العالم.
03 November 2009
ภาษามลายูปาตานีเป็นมรดกตกทอดทางอารยธรรมอันภาคภูมิใจแห่งโลกมลายู
Patani Malay Language: Proud Legacy of the Civilization of the Malay World.
ซูฮัยมีย์ บินอิสมาอีลฺ อาแว
โลกมลายูสามารถให้คำนิยามกว้าง ๆ ว่า หมายถึงพื้นที่ทางภูมิศาสตร์โดยรวมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีผู้คนสื่อสารด้วยกลุ่มภาษามลายูโดยเฉพาะพื้นที่บริเวณคาบสมุทรที่เป็นเกาะแก่งต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันได้กลายเป็นหน่วยย่อยทางภูมิรัฐศาสตร์ตั้งแต่อินโดนีเซีย จนถึงเวียดนามรวมทั้งไต้หวัน คำนิยามนี้มุ่งเน้นไปที่กลุ่มภาษาเป็นหลักเนื่องจากเป็นมรดกหนึ่งเดียวที่ประวัติศาสตร์โบราณได้ทิ้งร่องรอยไว้ให้เป็นที่รู้จักประจักษ์ชัดถึงการคงอยู่ของชุมนุมชนที่หลากหลายในกลุ่มชนชาวมลายู
นับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 ภาษามลายูถูกใช้ในพื้นที่แห่งนี้อย่างแพร่หลายโดยใช้อักขระ Palava จากทางตอนใต้ของอินเดีย โดยบูรณาการกับภาษาสันสกฤต (ปาลาวะและบาลี) เป็นเวลามากกว่า 7 ปีก่อนการเข้ามาของอิสลาม
หลังจากการเข้ามาของอิสลามที่หลักคำสอนเป็นภาษาอาหรับ อีกทั้งผู้เผยแพร่ศาสนาอิสลามก็เป็นชาวอาหรับทำให้ความรู้ทางศาสนาได้รับการถ่ายทอดเป็นภาษามลายูโดยใช้อักษรอาหรับที่เรียกว่า ญาวีย์ แทนที่อักขระปาลาวะมาเป็นลำดับ ในขณะที่อาณาจักรศรีวิชัย มีอิทธิพลเหนือรัฐมลายูต่าง ๆ ตั้งแต่คอขอดกระจนถึงสุมาตรา กะลิมันตัน และชวา ซึ่งนับว่าเป็นอาณาจักรมลายูอันรุ่งเรืองที่สุด สร้างความเจริญด้านอารยธรรมยาวนานถึงแปดศตวรรษ
รัฐมลายูปาตานีได้สืบทอดอารยธรรมโบราณมาอย่างหลากหลายและต่อเนื่องจนกระทั่งการเข้ามาของอิสลามที่ปักหลักเป็นฐานอยู่ที่สุมาตรา การเปลี่ยนแปลงสู่อิสลามเป็นการเปลี่ยน -แปลงที่ดำรงไว้ซึ่งสันติภาพ ที่เริ่มแผ่ขยายมาในหมู่ประชาชนก่อนแล้วจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบเมื่อพระราชาประกาศเป็นนครรัฐมลายูอิสลาม
ปาตานีเป็นนครรัฐที่มีอัตลักษณ์ทางศาสนาอันโดดเด่นด้วยปวงนักปราชญ์อันเลื่องชื่อจำนวนมากที่เขียนตำราทางศาสนาโดยใช้ อัล ฟาตอนีย์ ระบุที่มาของตนให้ปรากฏต่อสายตาของคนทั่วโลก จึงได้รับการยกย่องว่าเป็น“ระเบียงมักกะฮฺ” ที่เป็นศูนย์การเรียนรู้อิสลามเช่นเดียวกัน
หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองรัฐไทยได้เข้ามาจัดระบบการเมือง การปกครองใหม่ และมีการบังคับใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ และมีวัฒนธรรมไทยเป็นวัฒนธรรมประจำชาติจึงส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อประชาชนในพื้นที่
ความรู้สึก เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง เมื่อคนมลายูต้องเปลี่ยนมาเป็น คนไทย ใช้ชื่อเป็นภาษาไทย เรียนหนังสือด้วยภาษาไทย ติดต่อราชการด้วยภาษาไทย ตลอดจนชื่อหมู่บ้านต้องเรียกเป็นคำแปลในภาษาไทย โดยเว้นพื้นที่ให้ใช้ภาษามลายูเพียงแค่ในบ้าน มัสยิด และเมื่อสื่อสารกันภายในหมู่บ้านเท่านั้น ดังนั้น คุณค่าของภาษามลายูที่จะระบุความเป็นตัวตนอย่างแท้จริงของคนในพื้นที่ ถูกปล่อยวางให้เป็น ลูกไม่มีพ่อ ที่ไม่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนา อีกทั้งยังถูกเรียกเป็นภาษาแขก บ้างในบางครั้ง จึงกลายเป็นสายล่อฟ้า และปรอตวัดอุณหภูมิภายใต้จิตสำนึกของคนมลายูมาโดยตลอด
ความเป็นมลายูของคนระบุได้ด้วยการใช้ภาษามลายู และภาษามลายูของชาวปาตานีมีอักขระญาวีย์ เป็นตัวบ่งชี้ ภาษามลายูจึงเป็นทั้งตัวตนของชาวปาตานี และเป็นความภาคภูมิใจที่มีอักขระญาวีย์ ที่ดัดแปลงมาจากภาษาอาหรับซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในสวนสวรรค์อันเป็นเป้าหมายชีวิตของปวงผู้นับถือศาสนาอิสลามทั้งมวล
14 October 2009
Kedatangan Islam dan Pembudayaan Melayu
Oleh
Dato’ Haji A. Aziz Deraman
Kuala Lumpur
Islam dan peradaban Melayu tidak boleh dipisahkan. Kedatangan Islam telah mengubah dan merobah kehidupan keagamaan yang sebelum itu berabad-abad lamanya dipengaruhi oleh kepercayaan Hindu-Buddha. Dalam tempoh hampir 15 abad dari awal Masihi sehingga permulaan abad ke-15, turun naiknya Kerajaan-Kerajaan Melayu boleh ditelusuri dari Zaman Funan, Langkasuka, Sriwijaya, Majapahit dan kerajaan-kerajaan wilayah seperti di Kediri, Singosari, Kutai Kartanegara. Sungguhpun disebut hubungan Tanah Melayu dengan dunia Arab sudah terjadi sejak abad ke-9 Masihi mungkin kerana dagang, tetapi kesan terbesar terjadi hanya sesudah terbentuknya Kerajaan Melayu Melaka dengan kekuatan sistem pemerintahan dalam bidang siasah, ekonomi, sosial dan kebudayaan, serentak dengan peranannya dalam penyebaran Islam ke seluruh Alam Melayu.
Kemunculan kerajaan-keajaan Melayu Kesultanan Brunei, Sulu, Banjar, Makassar, Pontianak, Sambas, Mindanao dan keluasan pengaruh kuasa Empayar Melayu Melaka itu melebar dari seluruh Tanah Melayu sehingga ke Pattani di selatan Thai, menguasai sebahagian besar timur Sumatera [kota-kota pelabuhan seperti Siak, Kampar, Inderagiri dan sebagainya], menjadikannya sebuah pemerintahan yang disegani timur dan barat. Tegaknya Kesultanan Melayu-Islam di Acheh (Perlak), Medang Bhumi (Kelantan), Champa, Terengganu, Jawa dan kemudiannya pengaruh Melaka dalam konteks hubungan serantau dan dengan Dinasti China, India, Rom dan Eropah – kekuatannya yang dibentuk oleh Islam itu – menandakan telah wujud pengembangan Warisan Nabawi yang luar biasa dalam konteks keserumpunan dan keserantauan yang tersendiri.
Sila kilk DI SINI utk dapat teks sepenuhnya
LIDAH BANGSA:Sajak karya A.Aziz
Suara Sengketa : Syair; A Aziz Deraman
13 October 2009
28 September 2009
นิตยสารไทม์: 'อภิสิทธิ์' บุรุษผู้อยู่ระหว่างกลาง (Man in the Middle:TIME)
By Hannah Beech / Bangkok
His mates back in newcastle, where he was born, and at Eton, where he was schooled, knew him as Mark, a soccer fanatic who later scored first-class honors at Oxford. Today, Thailand's urbane Prime Minister, Abhisit Vejjajiva, says he dreamed of leading his Southeast Asian nation ever since he was a little boy, but he still seems more comfortable roaming the corridors of international diplomacy than engaging in the rough-and-tumble politics of his homeland. Just days ago, the 45-year-old economist headed to New York City to hobnob with world leaders at the U.N. General Assembly. In his inaugural speech to the international body on Sept. 26, Abhisit is expected to reference everything from sustainable development and foreign-investment incentives to the wisdom of Alfred Lord Tennyson. No doubt he will be warmly received.
Read more
เพื่อนๆ ของเขาสมัยที่อยู่นิวคาสเซิลที่ซึ่งเขาถือกำเนิดและเพื่อนๆ ที่อีตันสมัยที่เขาเรียนหนังสือ รู้จักเขาในชื่อว่า “มาร์ค” ผู้คลั่งไคล้ฟุตบอล หลังจากนั้นได้ทำประตูเกียรตินิยมอันดับหนึ่งที่มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด
ในวันนี้นายกรัฐมนตรีผู้ดีของประเทศไทย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ บอกว่า เขามีความฝันในการนำประเทศของเขาตั้งแต่เขายังเป็นเด็กชายตัวเล็กๆ แต่ตอนนี้ดูเหมือนกับว่าเขาสบายใจกับการท่องไปในโลกแห่งการฑูตระหว่างประเทศมากกว่าเข้าไปเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเมืองในประเทศบ้านเกิดที่ขรุขระและยุ่งเหยิง
เพียงไม่กี่วันที่แล้ว นักเศรษฐศาสตร์วัย 45 ปีคนนี้ได้มุ่งหน้าไปยังมหานครนิวยอร์คเพื่อคบหาตีสนิทกับผู้นำระดับโลกที่การประชุมทั่วไปสหประชาชาติ ในปาฐกถาของเขาในที่ประชุมนานาชาติเมื่อวันที่ 26 กันยายน อภิสิทธิ์ถูกคาดหวังให้กล่าวอ้างอิงถึงทุกสิ่งทุกอย่างนับตั้งแต่การพัฒนาที่ยั่งยืนไปจนถึงแรงจูงใจในการลงทุนจากต่างประเทศไปยังการไตร่ตรองทางปัญญาของอัลเฟรด ลอร์ด เทนนิสัน และไม่เป็นที่สงสัยเลยว่า เขาได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่น
ถึงแม้ประชาคมนานาชาติให้การรับรองนายกหน้าใหม่คนนี้ แต่ในประเทศบ้านเกิดของเขา อภิสิทธิ์กำลังถูกกล่าวหาถึงการไม่เชื่อมต่อกับคนไทยที่อยู่นอกห้องแอร์อันแสนสะดวกสบายในกรุงเทพที่เพิ่มสูงขึ้น
แม้ว่าการคาดการณ์ทางเศรษฐกิจที่สดใสขึ้นซึ่งรัฐบาลเทคโนแครตรีบฉวยเอามาเป็นเครดิตของตนอย่างรวดเร็ว แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่มีข้อสงสัยเลยว่า ประเทศไทยกำลังทะเลาะวิวาทกันอยู่ที่ปากเหว
เมื่อวันที่ 19 กันยายน สองวันก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะลงเครื่องบินที่นิวยอร์ค กลุ่มผู้ท้วงต่อต้านรัฐบาลกว่า 20,000 คนสวมเสื้อแดงไหลบ่าในเมืองหลวง พวกเขามาจากพื้นที่ต่างๆ ในชนบท เพื่อชุมนุมในวาระครบรอบสามปีการรัฐประหารที่มีต่ออดีตนายกทักษิณ ชินวัตร ผู้นำทางจิตใจของเขาซึ่งอยู่ลี้ภัยอยู่นอกประเทศ
ในวันเดียวกันนั้นเอง ผู้ประท้วงเสื้อเหลืองชาตินิยมซึ่งช่วยปูทางการขึ้นสู่อำนาจของอภิสิทธิ์ ได้ปะทะอย่างรุนแรงกับชาวบ้านที่อยู่ใกล้ชายแดนกัมพูชาซึ่งข้อพิพาทชายแดนปะทุขึ้นบริเวณใกล้กับปราสาทพระวิหาร
ในภาคใต้ของประเทศไทยอันประกอบด้วยคนมุสลิมเป็นจำนวนมาก การเคลื่อนไหวรณรงค์แบ่งแยกดินแดนทำลายชีวิตผู้ตกเป็นเหยื่อมากกว่าสิบคนในเดือนกันยายน และในปีนี้ การเสียชีวิตในภาคใต้เพิ่มสูงถึงประมาณ 350 คนแล้ว หากการเข่นฆ่ายังดำเนินอยู่ต่อไป ยอดผู้เสียชีวิตในปีนี้จะสูงกว่าผู้เสียชีวิตในปีที่แล้ว
จากสถานการณ์โดยรวมที่น่าเป็นห่วงของประเทศไทย พระมหากษัตริย์ไทยผู้มีพระชนม์มายุ 81 พรรษาซึ่งเสด็จพระราชดำเนินเข้ารับการรักษาพระอาการประชวรได้ทรงตักเตือนว่า หากประเทศไม่นำความสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกลับคืนมา ประเทศอาจจะ “ล่มจม”
อภิสิทธิไม่ใช่คนที่จะถูกกล่าวโทษสำหรับการแบ่งแยกอย่างฝังลึกของประเทศไทยที่เขาได้รับสืบทอดมาเมื่อเขารับตำแหน่ง 9 เดือนที่ผ่านมา ในระหว่างการอยู่ในตำแหน่งในช่วงสั้นๆ นี้ เขาเอาใจใส่อย่างขยันขันแข็งในการสร้างสถาบันประชาธิปไตยต่างๆ ที่ได้ถูกกัดเซาะด้วยความโกลาหลทางการเมืองในช่วงเกือบ 4 ปีที่ผ่านมาให้กลับขึ้นมาใหม่อย่างเชื่องช้า แต่ในช่วงเวลาที่ผ่านไป ความตั้งใจที่ดีไม่ผลิดอกออกผลเป็นรูปธรรมปรากฎให้เห็น
“อภิสิทธิ์ เป็นนายกที่มาจากการเลือกตั้งคนแรกที่พูดว่า เขาจัดให้สิทธิมนุษยชนและความยุติธรรมต้องมาก่อนในการบริหารประเทศ เพื่อที่จะส่งเสริมให้เกิดความเป็นหนึ่งเดียวของชาติ” สุนัย ผาสุก นักวิจัยของฮิวแมนไรท์วอทช์ กล่าว “แต่เขาขาดอำนาจที่จะรวมกำลังรัฐบาลผสมของเขาเพื่อแปร (สิ่งที่พูด) ให้เป็นการกระทำจริง
แต่อภิสิทธิ์มองเห็นเรื่องนี้แตกต่าง “สิ่งต่างๆ กำลังรุดหน้าไปอย่างต่อเนื่อง” อภิสิทธิ์กล่าวกับ นิตยสารไทม์เมื่อเร็วๆ นี้ ในช่วงปีที่ผ่านมาทำเนียบรัฐบาลถูกล้อมโดยผู้ประท้วงเสื้อเหลืองและเสื้อแดงสองครั้ง บีบบังคับรัฐบาลสามชุดให้ทิ้งทำเนียบฯ “เราเพียงแต่ต้องทำให้แน่ใจว่าประชาชนคนส่วนน้อยกลุ่มเล็กที่โน้มเอียงในการใช้ความรุนแรงหรือสร้างความโกลาหลวุ่นวายจะไม่สามารถก่อปัญหาความยุ่งยาก”
แต่ภายในวันที่ 20 กันยายน จากการขยายตัวของความแตกร้าวทั่วประเทศ นายกรัฐมนตรีผู้มีกริยามารยาทอ่อนนุ่มผู้นี้จำต้องอ้อนวอนกลุ่มการเมืองต่างๆ ให้แสดงความเป็นสุภาพบุรุษออกมาบ้าง “เราสามารถแสดงความเห็นที่แตกต่างได้” เขากล่าวออกโทรทัศน์ “แต่เราทุกคนเป็นคนไทย โปรดอย่าทำร้ายกัน”
จุดอับทางการเมืองของประเทศไทยบ่อยครั้งมักจะดำรงอยู่ในฐานะของการเป็นสนามรบระหว่างเมืองกับชนบท คนรวยกับคนจน องค์ประกอบต่างๆ ของการแบ่งแยกเหล่านี้ส่งผลต่อระบบการเมือง แต่การต่อสู้เป็นผลมาจากการประทะกันระหว่างกลุ่มชนชั้นนำทางการเมืองสองกลุ่มที่ล้มเหลวในการแสวงหาหลักพื้นฐานร่วมกัน
การตอบโต้กับอภิสิทธิ์ จากผู้มีเลือดเนื้อเชื้อไขจากครอบครัวเก่าแก่เชื้อสายไทย-จีนครอบครัวหนึ่งที่มีสายสัมพันธ์กับผู้ภักดีในประเทศคือ ทักษิณ ผู้เป็นทุกสิ่งทุกอย่างที่นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันไม่ได้เป็นคือ นักประชานิยม เศรษฐีผู้มีเงินรุ่นใหม่ผู้ถูกตัดสินจำคุกสองปีจากข้อหาผลประโยชน์ทับซ้อน
ทั้งสองฝ่ายมีเสียงในการรวบรวมกำลังผู้คนและรุนแรงในบางโอกาส กลุ่มผู้สนับสนุนซึ่งอยู่ท่ามกลางประชาชนทั่วไปจำนวนมาก ไม่มีครั้งใดที่มีหูตาสว่างทางการเมืองมากกว่าครั้งนี้ จากผลของโพล์ของมูลนิธิเอเซียที่แถลงออกมาไม่นานมานี้ พบว่า ประชาชนไทยจำนวนน้อยกว่าหนึ่งในสามเท่านั้นที่รู้สึกว่าประเทศไทยเดินไปในทิศทางที่ถูกต้อง และในความเป็นจริง สหรัฐอเมริกาก็แสดงความวิตกกังวลอย่างมากเกี่ยวกับสภาวการณ์ของประเทศไทย โดยสหรัฐสัญญาจะจัดสรรเงินทุนผ่านองค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐเพื่อใช้สำหรับการพัฒนาประชาธิปไตยในประเทศไทย ซึ่งเป็นบางอย่างที่สหรัฐไม่ได้ทำมาเกือบ 15 ปี
ในฐานะที่เป็นนายกรัฐมนตรี มันตกอยู่กับอภิสิทธิ์ในการพยายามสร้างสะพานเชื่อมช่องว่างทางการเมืองพร้อมกับฟื้นฟูความเชื่อมั่นในระบอบประชาธิปไตยที่คลอนแคลน เพียงแค่การแสดงให้เห็นภาพพจน์ที่สะอาด นายกรัฐมนตรีอาจสามารถแสวงหาการลงทุนจากต่างชาติเพิ่มมากขึ้นซึ่งมันเป็นความจำเป็นของประเทศไทยเพื่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจและเพื่อปลอบประโลมใจชาวไร่ชานาในภาคอีสานซึ่งหวนคิดถึงวันเก่าๆ กับการริเริ่มโครงการให้เงินกู้แก่กลุ่มชาวบ้านรายย่อยซึ่งเป็นประชานิยมของทักษิณ
อย่างไรก็ตาม ในประการแรก อภิสิทธิ์จะต้องควบคุมพรรคร่วมรัฐบาล 6 พรรคที่กระจัดกระจายผู้ซึ่งจูงเขาขึ้นสู่อำนาจเมื่อครั้งแรกเริ่มให้ได้ ส่วนสิ่งที่ดูเหมือนเป็นความขัดแย้งรองที่ทำให้กลุ่มที่เป็นแนวรร่วมที่เป็นพันธมิตรของเขาอาจแตกออกจากกัน เป็นเรื่องที่ว่า ใครจะเป็นผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนต่อไป
นอกจากนี้ การบัญชาการของอภิสิทธิ์เพื่อหลีกเลี่ยงความรุนแรงในการเดินขบวนโดยใช้ พ.ร.บ.ความมั่นคงภายในประเทศ และส่งทหารหลายพันคนเข้าไปยังท้องถนนในเมืองหลวงเมื่อวันที่ 19 กันยายน ได้ดึงปัญหาความขัดแย้งจากสมาชิกพรรคร่วมรัฐบาลเข้ามาอีกด้วย
นายกฯ ยอมรับอย่างเปิดเผยถึงปัญหาความยากลำบากที่ประเทศเผชิญและรัฐบาลกำลังเผชิญอยู่ แต่มันไม่ใช่ว่า ประเทศไทยจะเต็มไปด้วยผู้นำที่มีความพร้อมจะขึ้นมาในตำแหน่งนี้และสามารถทำได้ดีกว่าอภิสิทธิ์ “พวกเรารู้สึกถึงความเจ็บปวดที่เพิ่มมากขึ้น” เขาระบุกับนิยสารไทม์ “เราต้องทำให้มั่นใจได้ว่า เรื่องที่เป็นเสาหลักพื้นฐานมากๆ ของระบอบประชาธิปไตย สำหรับผม ต้องสามารถทำให้เข้าที่เข้าทาง โดยไม่ให้ถูกมองว่าเป็นการขัดแย้งกับความคิดเรื่องประชาธิปไตยเป็นการปกครองโดยเสียงส่วนใหญ่ เราต้องทำให้เกิดความสมดุลที่พอดี”
ระหว่างการให้สัมภาษณ์กับนิตยสารไทม์ อภิสิทธิ์ได้ระบุถึงสิ่งที่รัฐบาลกำลังทำอยู่เพื่อหาจุดสมดุล เงินกว่า 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐสำหรับความช่วยเหลือในการพัฒนาพื้นที่ปัญหาภาคใต้ การรณรงค์ที่มีหัวจิตหัวใจซึ่งตรงกันข้ามกันกับแนวทางแบบกำปั้นเหล็กของทักษิณ รวมถึงการเสริมสร้างความความสัมพันธ์กับสหรัฐ จีนและญี่ปุ่น สามประเทศใหญ่ที่ต่อสู้แข่งขันกัน โดยประเทศเหล่านี้เป็นประเทศคู่ค้าหลักของระบบเศรษฐกิจที่นำโดยการส่งออกของไทย รวมไปถึง กระทั่งการกล่าวยอมรับอย่างมีมารยาทอ่อนโยนว่า ทักษิณ ผู้เป็นศัตรูทางการเมือง เป็นที่นิยมของประชาชนเพราะ “นวัตรกรรมทางนโยบาย” ของเขาในพื้นที่ชนบท
แต่ความพยายามต่างๆ เพื่อสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกลายมาเป็นนโยบายแบนๆ ไร้ซึ่งความน่าสนใจ เช่นโครงการที่ประกาศโดยสำนักนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 15 กันยายน ชักชวนให้ประชาชนชาวไทยทุกคนร้องเพลงชาติทุกเวลาเย็น เป็นเวลาเดือนครึ่ง การริเริ่มเรื่องนี้นี้เผชิญกับความน่าหัวเราะจากสื่อภายในประเทศ แต่มันถูกออกแบบโดยสมมติฐานว่า เพื่อปลอบใจกลุ่มทหารชาตินิยมในกองทัพที่รัฐบาลอภิสิทธิ์เป็นหนี้บุญคุณอยู่
นอกจากนี้ ประเทศไทยยังถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างต่อเนื่องจากองค์กรศาลระหว่างประเทศต่อการบังคับใช้กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่เข้มงวดซึ่งห้ามการถกเถียงอย่างเปิดเผยในประเด็นพระบรมวงศานุวงศ์และการสืบสันตติวงศ์ ภายใต้การดำรงตำแหน่งของอภิสิทธิ์ กรณีการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพถูกนำเข้าสู่ศาลไทยเพิ่มจำนวนมากขึ้น
อภิสิทธ์เคยกล่าวกับนิตยสารไทม์ในเรื่องนี้ว่า “มีการปรับปรุงให้ดีขึ้น (แม้ว่า) อาจมีหนึ่งหรือสองกรณีที่หลุดจากเรดาร์ไปด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง” แต่เพียงช่วงเวลาสั้นๆ หลังจากที่เขาให้สัมภาษณ์ นักกิจกรรมทางการเมืองของไทยชื่อ ดารณี ชาญเชิงศิลปกุล ถูกตัดสินจำคุก 18 ปีในข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์และพระราชินี ซึ่งเกิดขึ้นในระหว่างการปราศัยในที่สาธารณะของเธอ
อภิสิทธ์เคยกล่าวกับนิตยสารไทม์ในเรื่องนี้ว่า “มีการปรับปรุงให้ดีขึ้น (แม้ว่า) อาจมีหนึ่งหรือสองกรณีที่หลุดจากเรดาร์ไปด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง” แต่เพียงช่วงเวลาสั้นๆ หลังจากที่เขาให้สัมภาษณ์ นักกิจกรรมทางการเมืองของไทยชื่อ ดารณี ชาญเชิงศิลปกุล ถูกตัดสินจำคุก 18 ปีในข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์และพระราชินี ซึ่งเกิดขึ้นในระหว่างการปราศัยในที่สาธารณะของเธอ
แน่นอนว่า ไม่ใช่อภิสิทธิ์เป็นผู้อนุมัติในการพิพากษาคดี แต่ผู้จงรักภักดีเป็นผู้สนับสนุนกลุ่มใหญ่ที่สุดของเขา ดังนั้นการวิจารณ์ทางสาธารณะถึงการลงโทษในเรื่องนี้อาจเป็นการฆ่าตัวตายทางการเมืองของอภิสิทธิ์
คนชื่อมาร์คอาจเผชิญกับความยากลำบากในการอธิบายกับเพื่อนเก่าสมัยเรียนอ๊อกฟอร์ดว่า สิ่งนี้เหมาะสมสอดคล้องกับระบบประชาธิปไตยไทยสมัยใหม่อย่างไร ซึ่งเขาเองพูดว่า เขากำลังพยายามสร้างมันขึ้นมา
ข้อมูลภาษาไทยโดยเว็บประชาไทยดอตคอม
26 September 2009
24 September 2009
ปัญหาใต้ต้องแก้ด้วยกระบวนการทางการเมืองข้อเสนอต่อรัฐบาลอภิสิทธิ์
โดย : อับดุชชะกูร์ บินชาฟิอีย์
การบริหารราชการส่วนภูมิภาคในปัจจุบัน ไม่สามารถสนับสนุนให้จังหวัดมีแผนงานและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่ ข้าราชการในส่วนภูมิภาคไม่สามารถให้บริการพื้นฐานแห่งรัฐไปสู่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีข้าราชการส่วนภูมิภาคจำนวนมากเกินไป จนต้องใช้งบประมาณในส่วนของเงินเดือนและการบริหารจัดการ (งบประจำ) มากเกินไป ทำให้มีงบประมาณเพื่อการพัฒนาจังหวัดน้อยเกินไป ผู้ว่าราชการไม่มีอำนาจในการบริหารงบประมาณเพื่อการพัฒนาจังหวัดได้อย่างเต็มที่ และไม่มีอำนาจกำกับดูแลข้าราชการที่อยู่ในจังหวัดในฐานะหัวหน้าของทุกส่วนราชการได้เต็มที่ (เพราะแต่ละกระทรวง ทบวง กรม ต่างพยายามรักษาอำนาจของตน) จึงทำให้ไม่สามารถแก้ปัญหาของประชาชนได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ต้องรอให้ราชการส่วนกลางเข้ามีส่วนช่วยแก้ไข ทำให้การแก้ปัญหาของประชาชนเป็นไปอย่างล่าช้าไม่ทันการณ์ ก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย
จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีความแตกต่างจากจังหวัดอื่นๆ ในประเทศไทย ถ้าหากไม่พิจารณาปรับปรุง แก้ไขการบริหารราชการให้มีประสิทธิภาพ ปัญหาต่างๆ จะยิ่งเพิ่มพูนมากยิ่งขึ้น จนไม่สามารถที่จะดำเนินการแก้ไขได้
เชิญคลิกเพื่ออ่านรายละเอียดต่อไป
เชิญเลือกอ่านบทความอื่น ๆ ของอับดุชชะกูร์ บินชาฟิอีย์
08 September 2009
บวรศักดิ์ชี้ทางออก วิกฤตภาคใต้
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 8กันยายน2552 พาดหัวข่าว บวรศักดิ์ชี้ทางออก สองวิกฤตไทย
ใครได้ฟัง ศ.ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เลขาธิการ สถาบันพระปกเกล้า บรรยายหัวข้อ "วิกฤตการณ์สยาม มุมมองและทางออก" ให้นายก อบจ.หลายจังหวัดฟังที่โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ เมื่อหลายวันก่อน คงรู้สึกตรงกันว่า ช่างเข้ากับอุณหภูมิร้อนแรงทางการเมืองในช่วงนี้
ดร.บวรศักดิ์บอกว่า มีอยู่ 2 กรณีหลักที่ถือเป็นวิกฤตการณ์ของเมืองไทยในขณะนี้
วิกฤตการณ์ แรก ได้แก่ เหตุการณ์ความขัดแย้งรุนแรงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และบางส่วนใน จ.สงขลา ที่ทำให้ทั้งพี่น้องไทยพุทธและไทยมุสลิม ต้องสังเวยชีวิตไปแล้วเกือบ 4,000 ราย ถือเป็นวิกฤตการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงเป็นอย่างยิ่ง
อีก วิกฤตการณ์ คือ ความขัดแย้งทางการเมือง ที่ขยายตัวบานปลายจนกลายเป็นความขัดแย้งทางสังคม โดยมีคนสวมสีเสื้อกลุ่มหนึ่งต่อต้านการกลับมาของอดีตนายกฯ และคนสวมสีเสื้ออีกกลุ่ม พยายามสนับสนุนให้อดีตนายกฯกลับมา
ซึ่งวิกฤตการณ์นี้ ยังไม่มีทีท่าว่าจะจบลงโดยง่าย
"การมองปัญหา ต้องแยกมองทีละเรื่อง ปัญหาสามจังหวัดชายแดนใต้ เราจะนิ่งนอนใจไม่ได้ เพราะมีความขัดแย้งในเชิงอัตลักษณ์มาช้านาน
พี่ น้องไทยมุสลิมที่นั่น มีวัฒนธรรม ศาสนา และประเพณีต่างจากไทยพุทธ การมีอัตลักษณ์ร่วมหรือต่างกัน ส่งผลถึงความไว้วางใจ และความเชื่อมั่น"
ดร. บวรศักดิ์ บอกว่า ที่ผ่านมารัฐบาลไทยได้พยายามแก้ความขัดแย้งดังกล่าว ด้วยกระบวนการที่หลากหลาย เช่น กำหนดให้ใช้กฎหมายอิสลาม ในพื้นที่ จ.ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล รวมทั้งจัดโครงสร้างบริหารจัดการ โดยให้มี ศอ.บต.เป็นแกนหลัก
แต่จู่ๆ รัฐบาลสมัย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกฯ สั่งรื้อโครงสร้างอำนาจในการบริหารจัดการของ ศอ.บต. เปลี่ยนไปใช้กลไกตำรวจ ลงไปรับผิดชอบแทน
ทำให้ "เจ้าภาพ" ที่มีอยู่เดิมถูกลดบทบาทลง ขณะที่เจ้าภาพรายใหม่ คือตำรวจ มิได้มีทักษะในการบริหารจัดการความขัดแย้งที่มีมาช้านาน จึงยิ่งทำให้ความขัดแย้งกระพือขึ้นไปอีก
"ผมเชื่อว่า แนวทางการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ในสามจังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งยอมรับความหลากหลายในวัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา พี่น้องไทยมุสลิมสามารถคงอัตลักษณ์ของตนไว้ได้ จะไม่นำไปสู่ความแตกแยกของรัฐสยาม หนทางนี้น่าจะเป็นทางออกที่ดีที่สุด เพียงแต่จะเกิดขึ้นเมื่อไรไม่ทราบ แต่ก็เชื่อว่า ก่อนผมตายคงได้เห็น"
ดร. บวรศักดิ์ ว่า วิกฤตการณ์สยามอีกเรื่อง ที่ยิ่งใหญ่ไม่แพ้วิกฤตการณ์แรก ใครจะคาดคิดว่า จากความขัดแย้งทางการเมือง ได้ลุกลามกลายเป็นความขัดแย้งทางสังคม ขนาดคนในหมู่บ้าน ชุมชนเดียวกัน หรือแม้แต่ในครอบครัวเดียวกัน ยังแตกแยกความคิดออกเป็น 2 สี 2 ฝ่าย คือเหลือง กับแดง
คำถามก็คือ วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้น และขยายตัวจนกลายเป็นความขัดแย้งร้าวลึกของคนในชาตินั้น เกิดขึ้นมาจากอะไรแน่
ดร.บวรศักดิ์บอกว่า จุดนี้สำคัญ เพราะถ้าเราวิเคราะห์สาเหตุของโรคต่างกัน การให้ยาหรือแก้ปัญหาก็จะต่างกันไปด้วย
" ถ้าเราเชื่อว่า สาเหตุเกิดจากความขัดแย้งส่วนตัวระหว่างคุณทักษิณและคณะ กับฝ่ายคุณสนธิและคณะ สมมติว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งยอมเลิกรา เรื่องก็น่าจะยุติลง แต่ผมกลับเห็นว่าความขัดแย้งในสังคมไทยเวลานี้จะนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงใน อีกไม่ช้า"
เลขาธิการ สถาบันพระปกเกล้า มองว่า เนื่องจากความขัดแย้งดังกล่าว ไม่ใช่ความขัดแย้งส่วนบุคคล แต่เป็น ความขัดแย้งเชิงโครงสร้าง ที่ฝังตัวในสังคมไทยมาระยะหนึ่งแล้ว....
ฯลฯ.....
เชิญคลิกเพื่ออ่านฉบับเต็ม
31 August 2009
28 August 2009
24 August 2009
Seluruh Dunia Mula Puasa
Indonesia,Malaysia,Singapore,
Emiret Arab Bersatu,Saudi Arbia,Mesir,Kuwait,Bahrain,Oman, Syria,Lebanon
Urdun,Palestine,Sudan, Yaman,Tunisia,Al-jeria,Somalia
Semuanya memulakan Puasa Rmadan 1430 pada 22 Ogos 2009
Ini bermakna tarikh 1 Syawal 1430 berkemungkinan akan jatuh pada
Ahad 20 September 2009 iaitu hari cuti bagi kebanyakan negara, dan sudah tentu akan diisytiharkan cuti ganti pada hari(Isnin) berikutnya.
ประเทศอินโดนีเซียประกาศเริ่มเดือนรอมฎอนในวันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม
สหรัฐอาหรับอิมิเรต, ซาอุดิอาราเบีย ประกาศแล้วว่าวันเริ่มต้นรอมฏอนเป็นวันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม
มาเลเซียประกาศทางทีวีช่อง TV1 วันเสาร์ เป็นวันแรกของรอมฏอน
สิงค์โปร ฟิลิปินส์ วันเสาร์ เป็นวันแรกของรอมฏอน
จีนซึ่งเป็นประเทศมุสลิมที่สูงที่สุด ก็ประกาศให้วันเสาร์เป็นวันแรกของรอมฏอน
ประเทศที่กำหนดวันแรกของรอมฏอนเป็นวันเสาร์ เช่น ประเทศอียิปต์ ซาอุดิอาราเบีย คูเวต บาห์เรน อาหรับอีมิเรต โอมาน ซีเรีย เลบานอน จอร์แดน ปาเลสไตน์ ซูดาน เยเมน ตูนีเซีย อัลจีเรีย โซมาเลีย
เคนยา กาน่า มาลาวี ญี่ปุ่น ออสเตเลีย บูรไน ไนจีเรีย วันเสาร์เช่นกัน
เบลเยี่ยม สเปน สวิสเซอแลน อังกฤษ วันเสาร์เช่นกัน
มัสยิดกลางในไทเป ประกาศว่ามุสลิมในไต้หวัน เริ่มวันแรกของรอมฏอน เป็นวันเสาร์
อุละมะอฺของชีอะฮฺในเลบานอนก็ประกาศเริ่มถือศีลอดวันศุกร์ตามการคำนวณเช่นกัน ประเทศอื่นๆ ที่ประกาศใช้การคำนวณ ได้แก่ ตุรกี โคโซโว มาเซโดเนีย โรมาเนีย บอสเนีย เฮอเซโกวิน่า เซอร์เบีย บัลแกเรีย มอนเตเนโกร อัลบาเนีย และยูเครน
ส่วนมุสลิมในอิตาลีแยกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มหนึ่งใช้การคำนวณทางดาราศาสตร์ และอ้างอิงตามคำฟัตวาของสภายุโรป คือเริ่มถือศีลอดในวันศุกร์ที่ 21 แต่อีกกลุ่มหนึ่งถือตามซาอุดี้ ฯ
ในอเมริกา ISNA ประกาศเริ่มถือศีลอดวันเสาร์ที่ 22 ตามการคำนวณทางดาราศาสตร์
ส่วนสภายุโรปเพื่อการวิจัยและฟัตวา ประกาศเริ่มถือศีลอดวันศุกร์ที่ 21 ตามการคำนวณ
สำนักจุฬาอย่างเป็นทางการ ให้วันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม เป็นวันแรกของเดือนรอมฏอน
ส่วนประชาชนมุสลิม ของประเทศดังกล่าวนี้ เข้าสู่บวชหลังสุดมีได้แต่
มุสลิมบางส่วนของอินเดีย ปากีสถาน และโดยเฉพาะมุสลิมที่แคว้นแคชเมียร์ (แคชเมียร์ถูกแบ่งแยกออกเป็น 2 ส่วน ภายใต้การปกครองของอินเดียและปากีสถาน ปากีสถานและสหประชาชาติ สนับสนุนให้แคชเมียร์เป็นรัฐที่ปกครองตัวเอง แต่อินเดียไม่เห็นด้วย) ซึ่งพวกเค้าได้เริ่มต้นเดือนรอมฏอนในวันอาทิตย์ที่ 23 สิงหาคมเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ออกอีดฯ วันไหน
แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือ แจ้งให้ทราบเกี่ยวกับวันออกบวช หรือวันอีดฯ ทางประเทศสหรัฐอาหรับอิมิเรต ได้มีการประมาณการกันว่า หากเริ่มต้นรอมฏอน วันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม วันออกรอมฏอน น่าจะเป็นวันที่ 20 กันยายน 2552 (วันอาทิตย์)
ซึ่งก็จะทำให้เดือนรอมฏอนปีนี้ มี 30 วันด้วยกัน ทั้งนี้สำหรับพี่น้องมุสลิมไทย ก็ขอให้วางแผน และผู้ที่ทำงานในบริษัทฯ ต่างๆก็จงวางแผน ยื่นใบลา เตรียมตัวเคลียงานตั้งแต่เนิ่นๆ
หากสังเหตุให้ดี รอมฏอนการีม ปีนี้ 2552 คงจะอยู่ประมาณ วันเสาร์ หรือวันอาทิตย์ เพราะฉนั้นคิดว่า ช่วงเวลาออกอีดฯ ปีนี้จะทำให้คนทำงานหรือมนุษย์เงินเดือน รู้สึกสบายใจมากยิ่งขึ้น
19 August 2009
สำนักจุฬาฯ.ประกาศ ดูดวงจันทร์ เพื่อกำหนดวันที่ 1 รอมฎอน 1430 ในวันที่21 สค.2552
สำนักจุฬาราชมนตรีออกประกาศให้คณะกรรมการอิสลาม ประจำมัสยิด ดูดวงจันทร์ ในวันศุกร์นี้ พร้อมแจ้งผลมายังสำนักจุฬาราชมนตรี เพื่อกำหนดวันที่ 1 ของเดือนรอมฎอน
คำประกาศสำนักจุฬาราชมนตรี เรื่องการดูดวงจันทร์ เพื่อกำหนดวันที่ 1 ของเดือนรอมฎอน ฮิจเราะห์ศักราช 1430 อาศัยอำนาจจุฬาราชมนตรี ผู้นำกิจการศาสนาอิสลาม และอำนาจตามมาตรา 8(3) แห่งพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ.2540 จุฬาราชมนตรีขอประกาศให้พี่น้องชาวไทยมุสลิม ทั่วประเทศ ดูดวงจันทร์ เพื่อกำหนดวันที่ 1 ของเดือนรอมฎอน ฮิจเราะห์ศักราช1430 ในวันศุกร์ที่ 21 สิงหาคม 2552 เวลาหลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้านั้น
ในการนี้ ขอให้คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด ประสานแจ้งไปยังคณะกรรมการอิสลาม ประจำมัสยิด ให้ปฏิบัติหน้าที่ ตามมาตรา 35 (11) ดูดวงจันทร์ และแจ้งผลการดูดวงจันทร์ กลับไปยังคณะกรรมการอิสลาม ประจำจังหวัด เพื่อคณะกรรมการอิสลาม ประจำจังหวัด จะได้ตรวจสอบผลการดูดวงจันทร์ และรายงานผล มายังสำนักจุฬาราชมนตรี เพื่อดำเนินการต่อไป
Majlis Syaikhul Islam Thailand,mengisytiharkan tarikh lihat anak bulan ramadan pada jumaat 21 ogos ini untuk menentukan 1 Ramadan 1430.
Perisytiharan itu disasarkan kepada setiap Majlis Agama Islam seluruh Thailand dengan arahan untuk melapurkan segera jika ada sabit kelihatan anak bulan ramadan itu dimana-mana wilayah juapun.
Sumber dari THAI MUSLIM.COM
โครงการปรับปรุงมักกะฮฺ โครงการของมุสลิมทั่วโลก
Makkah revamp project unveiled
Plans to make the holy city of Makkah one of the most beautiful cities in the world have been unveiled.
Makkah Governor Prince Khaled Al-Faisal said the proposals for the city would "protect its cultural identity".
“The development of Makkah should be an exceptional one considering its unique position,” he added in comments published by Arab News on Tuesday.
หนังสือพิมพ์อาหรับนิวส์รายงาน เมื่อวันอังคาร อ้างคำกล่าวของ เจ้าชายคอลิด อัล-ไฟซาล ผู้ว่าราชการนครมักกะฮฺ เกี่ยวกับแผนงานปรับปรุงมักกะฮฺให้เป็นนครที่สวยงามที่สุดในโลก และโครงการดังกล่าวยังต้องการอนุรักษ์ด้านเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม เนื่องจากเป็นนครที่มีความแตกต่างที่ไม่เหมือนที่ใด
เจ้าชายคอลิดยังได้พูดกับทีมของสหประชาชาติ เกี่ยวกับโครงการพัฒนา ซึ่งครอบคลุมนครมักกะฮฺ มาดินะฮฺ และสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ในมีนา และมุซดาลิฟา โดยเฉพาะในนครมักกะฮฺที่จะมีการสร้างอาคารที่พัก ระบบขนส่ง และเทคโนโลยีใหม่ๆ เตรียมพร้อมสำหรับผู้มาทำฮัจญ์ปีนี้
โดยทีมของสหประชาชาติจะทบทวนแผนพัฒนาดังกล่าว ซึ่งร่างขึ้นโดยบริษัททีปรึกษาจากแคนาดา ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญของซาอุดี้
18 August 2009
ANDA TELAH BACA AL-QURAN ?
Sudah berapa banyak masa kita habiskan untuk kehidupan kita harian?
Sudah berapa banyak wang kita belanjakan untuk kehidupan kita harian?
Sudah berapa banyak bahanbaca kita bacakan untuk kehidupan kita harian?
Sudah kah kita bersedia menemui tuhan di alam baka?
Berapa banyak masa yang kita habiskan untuk menemui tuhan di alam baka?
Berapa banyak wang yang kita belanjakan untuk menemui tuhan di alam baka?
Berapa banyak AL-QURAN yang kita bacakan untuk menemui tuhan di alam baka?
Sila klik untuk tadarus Quran
17 August 2009
Ustaz Asri Ibrahim
'INNA LILLAHI WA INNA ILAIHI RAJIOON' Saya menumpang sedih bersama kelaurga dan para peminat setia beliau seluruh dunia. Saya mula terpikat dengan karya dakwah beliau semasa beliau bersama ustaz Asyari Muhammad,al-Arqam ke pejabat kami,Persatuan Belia Islam Thailand di Yala hampir 20 thn. dulu.Saya masih menyimpan kaset ansyid beliau yang lama-lama sampai kini walaupun kaset takbertahan lama namun koleksi nasyid begini saya yakin susah nak cari ganti pada masa akan datang.Sebuah lagu nasyid dalam koleksyen saya berjodol DUNIA BARU ISLAM saya pernah buat Jinngle rancangan radio saya JENDELA MASYARAKAT. Saya sungguh terkejut dengan pemergian beliau. ขอร่วมแสดงความเสียใจต่อการจากไปของศิลปินนักเผยแพร่ศาสนาที่มีความอัจฉริยะทางโสตของโลกอิสลามอีกท่านหนึ่งที่มีนามว่า อุซตาซอัซรี บินอิบรอฮีม ซึ่งผมรู้จักท่านในฐานะนักกวีในสังกัดของอดีตกลุ่มอัรกอมมาเกือบ20 ปีที่แล้ว ผมยังคงประทับใจและจัดเก็บรักษาไว้ผลงานของท่านในอดีตไว้อย่างดีถึงแม้จะอยู่ในรูปตลับเทปก็ตามแต่ต้องบอกว่า "ผมชอบมาก" ครับ มีเพลงหนึ่งในกลุ่มอนาชีดของอัล-อัรกอม มีชื่อว่า ดุนยาบารูอิสลาม ผมตัดบางตอนมาเป็นเพลงจิงเกิ้ล รายการ หน้าต่างสังคม ทาง สถานีวิทยุ กวส.7 ยะลาเกือบ10 ปี รู้สึกตกใจกับการจากไปของท่านจริง ๆ ครับ (อินนาลิลลาฮ วะอินนา อิลัยฮิ รอญิอูน)
15 August 2009
Aktivitas Politik Imam Hasan Al-Banna
Imam Hasan Al-Banna memimpin demonstrasi yang diprakarsai oleh Al-Azhar menuntut penyelesaian segera masalah-masalah yang menimpa Mesir.
Aktifitas-aktifitas politik yang pernah Beliau lakukan bersama para ikhwah, di antaranya:
a. Di sela-sela keberangkatan Naqrasy menemui Dewan Keamanan PBB, Imam Hasan Al-Banna mengundang seluruh lapisan masyarakat Mesir untuk mendatangi masjid-masjid sewaktu pelaksanaan shalat zhuhur untuk mendengarkan orasi umum membahas sengketa lembah sungai Nil, kemudian Imam Hasan Al-Banna memimpin demonstrasi yang diprakarsai oleh Al-Azhar menuntut penyelesaian segera masalah-masalah yang menimpa Mesir.
b. Imam Hasan Al-Banna mengirimkan telegram pada Naqrasyi guna memprioritaskan penundaan pembahasan sengketa lembah sungai Nil dan menuntutnya agar fokus terlebih dahulu pada pembatalan perjanjian 1936, menabuh genderang “jihad” mengusir secara paksa penjajah Inggris dari tanah Mesir serta pernyatan bahwa Ikhwanul Muslimin telah siap maju ke medan jihad.
c. Derasnya gelombang aksi protes, unjuk rasa dan demonstrasi rakyat Mesir membuat pemerintah Mesir dan pemerintah Inggris tertekan, sehingga memaksa mereka berpikir keras untuk bersedia membatalkan perjanjian dan nota kesepahaman 1936.
d. Aktifitas dan kerja politik lain yang dilakoni Imam Hasan Al-Banna adalah pengiriman delegasi-delegasi politik yang mengurus pembebasan Mesir dari penjajahan dan kolonialisme.
e. Pemusnahan semua hal yang berkaitan dengan Inggris di Mesir, ketika setiap anggota ikhwan di masing-masing provinsi mengumpulkan semua buku-buku, majalah-majalah dan surat kabar berbahasa Inggris setelah itu dibakar di lapangan-lapangan umum sebagai bentuk aksi protes terhadap kebijakan politik koloialis Inggris.
f. Penugasan delegasi-delegasi untuk menyerukan pemboikotan semua tulisan berbahasa Inggris serta pemusnahan semua spanduk, baliho dan papan pengumuman berbahasa Inggris yang terpampang di berbagai institusi, pusat-pusat perdagangan dan sebagainya, lalu menggantinya dengan spanduk-spanduk berbahasa Arab.
Penugasan divisi khusus Ikhwanul Muslimin yang berkonsentrasi melakukan pembelaan sengketa lembah sungai Nil untuk menyebarkan ke seluruh penjuru Mesir jutaan selebaran bergambar hati yang diberi warna merah dan ditengah-tengahnya tertulis kata “usir kaum penjajah!!!” hingga pada waktu yang telah ditentukan semua rakyat Mesir keluar dan berkumpul dengan menyangkutkan tulisan tersebut di dada mereka. Sungguh merupakan pemandangan yang menarik.
Aksi Mogok dan Demonstrasi
Di antara bentuk pendidikan politik Imam Hasan Al-Banna dalam menghadapi peristiwa-peristiwa penting dunia perpolitikan Mesir adalah sebagai berikut:
Imam Hasan Al-Banna pernah mengadakan rapat pembentukan panitia inti yang akan mendialogkan upaya perebutan secara paksa hak rakyat Mesir yang telah dirampas oleh imperealisme Inggris. Dialog tersebut diselengarakan pada tanggal 5 Februari 1946. Sebagai tindak lanjut dari hasil dialog tersebut berupa aksi protes dan demonstrasi menuju istana Abidin. Dalam demonstrasi tersebut mereka menuntut raja Faruq untuk memperjuangkan hak-hak rakyat Mesir yang telah dirampas. Akibatnya, terjadi pembantaian besar-besaran di jembatan Abbas tanggal 9 Februari 1946. Segera setelah gelombang aksi protes yang dilancarkan, akhirnya rezim Neqrasyi tumbang, khususnya setelah gelombang aksi protes yang dikomandoi oleh Musthafa Mu’min, pimpinan mahasiswa Ikhwanul Muslimin di Universitas Al-Azhar.
Keterlibatan Ikhwanul Muslimin dalam beberapa aksi protes dan demonstrasi di masa rezim pemerintahan Ismail Shidqy. Dalam aksi tersebut, mereka menuntut Ismail berupaya mengembalikan hak-hak rakyat Mesir yang telah terampas. Dua tuntutan utama mereka adalah pengusiran Inggris dari tanah Mesir dan menggalang persatuan guna menyelesaikan sengketa lembah sungai Nil.
Pengerahan massa guna melakukan unjuk rasa sebagai bentuk penegasan dan keseriusan tuntutan mereka atas instruksi dari Ikhwanul Muslimin pada tanggal 10 Mei 1946 dan tanggal 8 Juni 1946. Mereka juga mengungkapkan fakta-fakta yang menyuarakan dengan lantang kepada rakyat Mesir agar menuntut hak-hak mereka serta menolak perjanjian-perjanjian dengan penjajah Inggris serta instruksi melakukan pemboikotan total terhadap Inggris bidang ekonomi, pendidikan dan sosial.
Dari Buku: Fikih Politik Menurut Imam Hasan Al-Banna.
Penulis: Dr. Muhammad Abdul Qadir Abu Faris.
ทฤษฎี 3 อำนาจ
อำนาจและพลังทางสังคม 3 ชนิด
หมายเหตุ ข้อมูลทั้งหมดนี้ เป็นการเก็บความมาจากการบรรยายของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี ซึ่งบรรยายให้กับนักศึกษาของสถาบันพระปกเกล้าฯ (ที่เดินทางมาศึกษาภาคสนาม ณ เขตจังหวัดภาคเหนือ) ที่จังหวัดเชียงใหม่ ณ สวนบันรีสอร์ท อ.หางดง ในวันที่ 3 มิถุนายน 2543 เวลา 8.30 น. (ข้อมูลที่เก็บความมานี้ ได้มีการปรับปรุงขึ้นมาใหม่และจัดแยกหัวข้อตามที่ผู้เรียบเรียงเข้าใจ และประยุกต์ให้เข้ากันกับสื่ออิเล็คทรอนิค. ดังนั้น หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้เรียบเรียงขอรับผิดชอบต่อข้อมูลเหล่านี้ที่นำเสนอ. สมเกียรติ ตั้งนโม)
1. พลังทางสังคมออกเป็น 3 ส่วนคือ
1. 1.พลัง”พลานุภาพ” หมายถึงพลังอำนาจซึ่งมาจากการใช้กำลัง เป็นอำนาจของการใช้ความรุนแรงเข้าแก้ไขปัญหา พลังชนิดนี้ ยิ่งใช้ความรุนแรงมากเท่าใด ก็ยิ่งทำให้เกิดความทุกข์ยากมากทั้งฝ่ายที่ถูกกระทำและฝ่ายที่กระทำ และในท้ายที่สุดผู้ใช้ความรุนแรงนั้นก็จะอยู่ไม่ได้. (สังคมที่ใช้พลังแบบ”พลานุภาพ”นี้ เป็นสังคมในรูปแบบที่เก่าแก่ที่สุด มีมาตั้งแต่อดีตจนกระทั่งปัจจุบัน และมักเป็นสังคมที่ล้าหลัง)
1.2.พลัง”ธนานุภาพ” หมายถึงพลังอำนาจซึ่งได้มาจากการใช้อำนาจทางการเงิน แทรกซึมเข้ามาในการแก้ปัญหา หรือเข้าแก้ปัญหาโดยตรง. อำนาจที่มาจากเงินนี้ไม่มีสัญชาติ แผ่ซ่านแทรกซึมไปได้ทั่วและซับซ้อน มีความแนบเนียนจนผู้ที่ถูกใช้อำนาจชนิดนี้ไม่ทันรู้ตัว ดังนั้น จึงเป็นอันตรายมากเพราะผู้ถูกกระทำไม่ทันได้ระวังตัวเหมือนกับคนที่ใช้ความรุนแรงกับเรา
1.3.พลัง”สังคมานุภาพ” หมายถึงพลังทางสังคมหรือชุมชน บางท็เรียกว่า”ประชานุภาพ” พลังชนิดนี้เชื่อใน”อำนาจของความรู้”ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกัน ร่วมคิดร่วมทำ และการระดมสมองเพื่อเข้าแก้ไขปัญหาต่างๆ เป็นอำนาจในลักษณะของการประสานร่วมมือกัน อำนาจความรู้นี้มีความยั่งยืน. สำหรับ”สังคมานุภาพ”นี้ เป็นพลังอำนาจที่รวมตัวกันอยู่ในพื้นที่จริงทางภูมิศาสตร์หรือทาง cyber space ก็ได้ โดยผ่านสื่ออีเล็คทรอนิค ที่ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน พลังเช่นนี้จึงมาจากหลายแหล่งความคิด และมีอำนาจในการแก้ไขปัญหาทุกชนิด โดยไม่ต้องใช้ความรุนแรง
2. รูปธรรมโครงสร้างทางอำนาจ
2.1.รูปธรรมทางโครงสร้างพลัง”พลานุภาพ” จะเป็นไปในลักษณะแนวดิ่งจากบนลงล่างตามลำดับ มีการสั่งการและมีผู้ปฏิบัติตาม. โครงสร้างทางอำนาจชนิดนี้มีลักษณะของผู้ชาย และอำนาจไม่ยั่งยืน กล่าวคือ เมื่อผู้มีอำนาจแบบนี้ตายลง โครงสร้างนี้ก็จะเสื่อมทรุดลง หรือบางครั้งก็พังครืนลงมา
2.2.รูปธรรมทางโครงสร้างพลัง”ธนานุภาพ” มีลักษณะเป็นแนวดิ่งและแนวนอน ทั้งในลักษณะของการสั่งการของผู้มีอำนาจเงินมากกว่าลงมาตามลำดับ และการแพร่กระจายไปตามแนวนอนแบบเชื้อโรค อีกทั้งยังทำงานร่วมกับอำนาจแบบ”พลานุภาพ”ได้ด้วย ซึ่งจะทำให้อำนาจความรุนแรงเข้มข้นมากขึ้น. ส่วนการสืบทอดอำนาจนั้นเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
2.3.รูปธรรมทางโครงสร้างพลัง”สังคมานุภาพ” จะเป็นไปในลักษณะแนวนอน และร่วมประสานความร่วมมือ อำนาจนี้มีความยั่งยืนกว่า และเป็นอำนาจแบบผู้หญิง คือถ้อยทีถ้อยอาศัยซึ่งกันและกัน ไม่มีลักษณะของความเป็นผู้นำที่โดดเด่น หรือการสืบทอดอำนาจตลอดกาล
3. สังคมานุภาพ
สังคมานุภาพ เกิดขึ้นมาได้จากหลายๆสาเหตุ บางครั้งเริ่มต้นขึ้นมาจากการพยายามหาทางแก้ปัญหาร่วมกันในสิ่งที่นำมาซึ่งความทุกข์ อาจเริ่มจากความทุกข์ของปัจเจกชน และพัฒนาไปสู่การร่วมกันกับคนที่มีความทุกข์อย่างเดียวกัน และพยายามค้นหาทางออกพร้อมๆกัน. การร่วมทุกข์นี้ในทางพุทธศาสนาถือว่าจะทำให้ความรู้สึกทุกข์นั้นน้อยลง และที่สำคัญ การร่วมทุกข์ทำให้ได้มีการปรับทุกข์ ได้รับการปรึกษาหารือกัน จากหนักกลายเป็นเบา
4. หลักธรรมแห่งสังคมานุภาพ
ในทางพระพุทธศาสนา มีหลักธรรมที่นำมาประยุกต์ใช้ได้กับพลังแห่ง”สังคมานุภาพ”คือ หลักแห่ง”อปริหานิยธรรม”(หรือ ธรรมะที่ไม่ทำให้ฉิบหาย)[ปริหานิยธรรม – ธรรมแห่งความฉิบหาย] ซึ่งพระพุทธองค์ทรงตรัสสอนให้มีการ”หมั่นประชุมกันเนืองนิจ”
ในหนังสือเรื่อง Making Democracy World : civic tradition of modern Itary เป็นหนังสือเกี่ยวกับการไปศึกษาเชิงเปรียบเทียบถึงความแตกต่างของประเทศอิตาลีว่า ทำไมเมืองมิลาโน ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของอิตาลี จึงมีความเจริญทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง, แต่พอมาศึกษาที่ซิซิลี ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ ทำไมจึงพบว่ามีแต่การคอรัปชั่น การฆ่ากัน การโกงกัน และมาเฟีย. ผมสรุปของการศึกษาเชิงเปรียบเทียบนี้ออกมาคือ เป็นเพราะเมืองมิลาโนมีประชาคม ในขณะที่ซิซิลีไม่มีประชาคม. การมีประชาคม ทำให้การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมดี มีศีลธรรม
สรุปทั้งหมดของหนังสือเล่มนี้ หากใช้คำพูดที่รวบรัดและสั้นที่สุดก็คือ “ประชาคม”, “ประชาสังคม”, และ”ความร่วมมือกัน”นั่นเอง
13 July 2009
03 July 2009
Seratus ribu tentera pun takdapat patahkan perjuangan jihad
Pemimpin tertinggi tentera melahirkan perasaan kesal terhadap perancangan ketenteraan di selatan Thai yang makin banyak dicurah badjet juga tenaga tentera masih juga tidak dapat mematahkan pertahanan pejuang kemerdekaan yang lahir semula ini.
ส่งทหาร 3 แสนนายลงใต้ก็ไม่สงบ! เพราะศูนย์ดุล การรบอยู่ที่"สงครามความคิด"
ไฟใต้ที่โหมกระหน่ำขึ้นมาอีกระลอก ทั้งๆ ที่รัฐบาลทุ่มงบลงไปแล้วเกือบ 1.1 แสนล้าน เปลี่ยนรัฐบาลมาแล้ว 5 ชุด แม่ทัพภาคที่ 4 อีก 5 คน มีกำลังเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงอยู่ในพื้นที่กว่า 60,000 นาย ทำให้หลายฝ่ายต้องย้อนกลับมาทบทวนว่าอะไรคือความผิดพลาดบกพร่อง และอะไรกันแน่คือต้นตอของปัญหาภาคใต้
ไม่ต้องมาเหนียมอายปลอบใจกันอีกแล้วว่า "เราเดินถูกทาง"
ในวงเสวนามุมมองคนทำงานภาคใต้ ในการสัมมนาโครงการสร้างความเข้าใจต่อแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากระบวนการยุติธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งจัดโดยกระทรวงยุติธรรม ที่อิมแพค เมืองทองธานี เมื่อวันที่ 1 ก.ค.2552 พล.ท.ดร.พีระพงษ์ มานะกิจ ที่ปรึกษาสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และอดีตโฆษกกระทรวงกลาโหม ตอบคำถามถึงประเด็นที่หลายฝ่ายกำลังทบทวนเอาไว้อย่างน่าสนใจ
พล.ท.ดร.พีระพงษ์ เริ่มต้นว่า ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีหลายตัวแปร ทฤษฎีที่นำมาอธิบายปัญหาก็มีหลายทฤษฎี แต่ทฤษฎีไหนตรงกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นมากที่สุด ถ้าค้นหาได้ ก็จะแก้ปัญหาภาคใต้ได้สำเร็จ
ทั้งนี้ ทฤษฎีแรกที่พูดกันมากคือ ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้เกิดจากปัญหาเชิงการจัดการ ฉะนั้นถ้าเปลี่ยนโครงสร้างการจัดการก็จะแก้ปัญหาได้ ทฤษฎีที่ 2 คือปัญหาภาคใต้เกิดจากการการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอำนาจในพื้นที่ ฉะนั้นหากจัดระเบียบโครงสร้างอำนาจเสียใหม่ ก็จะแก้ไขได้
อย่างไรก็ดี ทฤษฎีที่น่าให้น้ำหนักมากที่สุด คือ "การผลิตซ้ำทางความคิด" ซึ่งมีกระบวนการในการดำเนินการ ผลิตซ้ำทางความคิดว่าคนที่นั่นไม่ใช่คนไทย เป็นคนมลายู ถูกรัฐไทยรุกรานทำให้ล่มสลาย ซึ่งในความเป็นจริงก็ไม่ใช่เช่นนั้นทั้งหมด
กระบวนการผลิตซ้ำทางความคิดที่ว่านี้ทำให้เกิดความรู้สึกชาตินิยม ต้องการยึดดินแดนคืน หรือเนชันแนลลิซึม (nationalism) เมื่อนำมารวมเข้ากับการตีความศาสนาอย่างเข้มข้นในลักษณะของญิฮาดลิซึม (jihadlism) จึงเกิดเป็นปัญหาที่ปรากฏอยู่ในขณะนี้
"ฉะนั้นศูนย์ดุลของสงครามไม่ใช่เรื่องการทหาร ส่งกำลังไป 3 แสนนายก็ยึดได้แค่กายภาพ เฝ้าได้แต่เสาไฟฟ้า สถานที่ราชการ เมื่อฝ่ายก่อการเพิ่มตัวแปรมากขึ้น ก็ต้องแตกกำลังไปเรื่อยเพื่อไปยึดกุมทางกายภาพมากขึ้น ทั้งคุ้มครองครู คุ้มครองพระ คุ้มครองโน่นคุ้มครองนี่ แต่เอาชนะไม่ได้ เพราะศูนย์ดุลที่แท้จริงของสงครามอยู่ที่เรื่องทางความคิด ซึ่งตรงนี้ไม่มีใครทำเลย"
พล.ท.ดร.พีระพงษ์ กล่าวต่อว่า กระบวนการผลิตซ้ำทางความผิดใช้อัตลักษณ์ ศาสนา และความอยุติธรรมเป็นตัวขับเคลื่อน ฉะนั้นเวลาที่สถิติการก่อเหตุร้ายลดลง ส่วนตัวจึงเห็นว่าไม่ใช่คำตอบที่จะมาบอกว่าสถานการณ์ภาคใต้ดีขึ้น เพราะอาจเป็นช่วงที่ฝ่ายโน้นเงียบลงเพื่อเตรียมการอะไรบางอย่างก็ได้
"สถานการณ์ภาคใต้เป็นเรื่องทางความคิด เป็นเรื่องทางการเมืองเป็นหลัก ฉะนั้นถ้าคิดแบบยุติธรรมทางอาญาคือจับคนไปเข้าคุก จะไม่มีวันแก้ปัญหาได้ มาตรา 17 สัตต (หมายถึงแนวทางการนิรโทษกรรม กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ.2495 ซึ่งถูกยกเลิกไปแล้ว) น่าจะเป็นแนวทางที่ดีกว่า ลองคิดดูว่าเรารักชาติ เขาก็รักชาติเหมือนกัน เพียงแต่อาจจะรักแบบหลงทาง เรื่องแบบนี้มีมิติทางการเมือง จะไปดูแต่ว่าเป็นความผิดแล้วให้ศาลลงโทษคงไม่ได้"
ที่ปรึกษา สมช.กล่าวอีกว่า การใช้ประเด็นชาตินิยม อันที่จริงก็ใช้กันทั้งสองฝ่าย คือฝ่ายก่อความไม่สงบก็ใช้ชาตินิยมมลายูมุสลิม ส่วนรัฐไทยเองก็พยายามทำลายความต่าง สร้างแต่ความเหมือน หากจะแก้ต้องเริ่มที่จุดนี้
"รัฐต้องมีคำตอบก่อนว่าจะเอาอย่างไรกับชนกลุ่มน้อย มีนโยบายเรื่องชนกลุ่มน้อยอย่างไร การแก้ปัญหาบางทีไม่ต้องใช้เงิน แต่ขออย่างเดียวว่าการจัดการปัญหาภาคใต้ต้องเป็นการเมืองของรัฐ ไม่ใช่การเมืองของพรรคการเมือง ไม่อย่างนั้นเปลี่ยนรัฐบาลที นโยบายก็เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา"
ส่วนยุทธศาสตร์การเมืองนำการทหารที่พูดกันมากนั้น พล.ท.ดร.พีระพงษ์ กล่าวว่า ไม่ใช่การเอาพลเรือนมาเป็นผู้บังคับบัญชาทหาร แต่ต้องย้อนกลับไปดูความขัดแย้งที่แท้จริงว่าอยู่ตรงไหน อยู่ตรงอัตลักษณ์ใช่หรือไม่ ฉะนั้นหากผู้รับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาก้าวข้ามความแตกต่างไปได้ ก็จะเป็นจุดเริ่มต้นของความสำเร็จ
แต่ถ้าก้าวข้ามไม่ได้ คือไม่ได้ยอมรับความแตกต่างอย่างแท้จริง ก็ขอให้กลับบ้านไปทำอย่างอื่นจะเหมาะกว่า!
30 June 2009
Neda ikon siapa?
CIA dikaitkan cubaan jadikan gadis Iran wira antikerajaan
NEDA Aghan Soltan hanyalah gadis biasa Iran yang secara tiba-tiba menjadi popular selepas ditembak mati dalam satu tunjuk perasaan membantah keputusan pilihan raya Presiden negara itu, Sabtu lalu.
Dalam sekelip mata, wanita berusia 27 tahun itu diangkat sebagai ikon pembebasan di Iran biarpun dirinya sudah tidak bernyawa lagi. Apatah lagi, namanya yang bermaksud ‘suara’ dalam bahasa Parsi, seakan melengkapkan lagi usaha pihak tertentu menjadikannya heroin pembebasan yang dilaungkan pembangkang serta pihak luar yang mahu melihat pembaharuan di Teheran.
Apa yang pasti, imej detik-detik terakhirnya - tersungkur selepas ditembak, muka berlumuran darah dan cubaan menyelamatkannya terpampang di media Barat selain tersebar luas yang boleh diulang tayang di internet menerusi YouTube, Twitter dan Facebook dan di saksikan jutaan orang, sudah pasti meninggalkan kesan kepada mereka yang melihatnya.
Renungan tajam matanya tepat ke kamera jurugambar amatur sebelum darah membuak dari mulut dan hidungnya akibat tembakan pada dadanya, hanya mengiyakan lagi tanggapan yang beliau sememangnya layak dinamakan ikon kerana menjadi mangsa perbuatan kejam pihak berkuasa.
Tindakan kerajaan Iran melarang media membuat liputan bantahan jalanan itu, menyebabkan orang ramai sendiri menjadi sumber maklumat terpenting kekacauan itu. Kematian Neda saja dikatakan dirakamkan beberapa kamera selama 40 dan 14 saat dengan komen mendakwanya sebagai pejuang yang mati syahid.
Namun, siapakah sebenarnya Neda? Apakah beliau seorang aktivis yang layak diberi gelaran ikon atau mangsa kerana secara kebetulan berada di tempat kejadian? Atau mungkinkah beliau dijadikan boneka pihak yang mahu menangguk di air keruh berikutan impak yang ditinggalkan Neda?
Sebagai asas, maklumat berhubung pengenalan diri Neda juga mengandungi beberapa versi yang berbeza. Laporan awal menyatakan beliau sebagai remaja 16 tahun yang maut ditembak sewaktu berarak dalam tunjuk perasaan menentang kemenangan semula Presiden Mahmoud Ahmadinejad dalam pemilihan 12 Jun lalu.
Versi seterusnya, mengesahkan Neda sebagai penuntut jurusan falsafah Universiti Islam Azad di Teheran. Anak kedua daripada tiga beradik, Neda tinggal bersama ibu bapanya di penempatan golongan pertengahan di timur ibu negara Iran. Beliau digambarkan sebagai seorang yang ceria dan positif. Biarpun belajar di universiti itu, Neda bukanlah seorang yang ekstrim pegangan agamanya.
Beliau juga meminati muzik dan pernah mengikuti kelas biola sebelum berhenti dan belajar bermain piano. Malah, dia sudah pun membeli sebuah piano, tetapi jari jemarinya belum sempat memainkannya. Neda juga dikatakan suka mengembara dan baru pulang dari Turki, tiga bulan lalu.
Kehadirannya di sekitar tempat bantahan di Amir-Abad juga ada beberapa catatan berbeza. Ada yang menyatakan beliau sememangnya menyertai perarakan antikerajaan itu manakala satu laporan lain mendakwa beliau menaiki kereta bersama seorang ahli keluarga dan guru pianonya. Kereta mereka terperangkap dalam kesesakan akibat perarakan itu. Berikutan keadaan panas, Neda melangkah keluar daripada kereta itu, berdiri dan sempat menggeliat untuk menghilangkan lenguh.
Tunangnya, Caspian Makan, dalam temubual dengan Perbadanan Penyiaran Britain (BBC), Isnin lalu, mendakwa Neda mangsa yang terperangkap di tengah-tengah pertembungan perarakan antikerajaan dengan anggota keselamatan. Neda, kata Makan, tidak mewakili mana-mana parti politik dan cuma prihatin dengan masa depan negaranya itu.
“Dia berada dalam kereta dan ditembak selepas keluar untuk mendapatkan udara segar. Orang ramai cuba menyelamatkannya sejurus ditembak tetapi mati sebelum sempat tiba di Hospital Shariati,” kata Makan, mendakwa keluarga Neda juga terpaksa berdepan kesukaran ketika menuntut jenazahnya.
Beberapa organ penting badannya turut diambil bagi tujuan pendermaan. Makan menuduh tunang tersayangnya itu ditembak anggota Basij - kumpulan militia prokerajaan berpakaian awam dalam kejadian pada hari kelapan bantahan yang meragut 10 nyawa dan lebih 100 lain cedera.
Andaian lain pula mendakwa tembakan itu mungkin dilakukan pegawai tentera atau pun pihak asing seperti Agensi Perisikan Pusat Amerika Syarikat (CIA) yang sememangnya mahukan suasana huru hara itu berterusan. Agak menghairankan, mengapakah imej Neda ditembak dirakam beberapa kamera yang seakan ‘bersedia’ di tempat kejadian yang diketahui menjadi bukti penting untuk dipaparkan dunia menerusi internet?
Apa yang pasti, peranan individu yang dijadikan wira, disifatkan alat terbaik menagih simpati ramai. Malah, jika diteliti, berbanding senjata canggih, senjata lain yang tidak kurang hebatnya bagi mencetuskan rasa marah adalah dengan memanipulasi perasaan simpati.
Ini menyebabkan kaitan teori konspirasi asing itu tidak boleh diketepikan. Berbanding negara Arab lain, Iran disifatkan negara tembok besi yang sukar ditembusi kuasa luar. Tambahan pula ketika ini, Amerika mahu pun negara sekutunya, Israel kian gusar dengan tindak tanduk Iran memperhebatkan program nuklearnya yang biarpun didakwa Teheran bersifat memenuhi permintaan awam yang dahagakan kuasa elektrik, sebaliknya dituduh Barat sebagai cubaan menghasilkan senjata nuklear.
Usaha mendekati Ahmadinejad juga bukan mudah. Lalu pilihan yang ada adalah dengan mengambil kesempatan di atas kemelut politik yang melanda ketika ini. Penulis dan penganalisis, Paul Craig Roberts dalam tulisannya pada 19 Jun lalu mendakwa apa yang berlaku di Iran sekarang sebagai 'revolusi warna’ di Iran. Beliau mendakwa wujudnya bukti yang menunjukkan sejak 2007 lagi, CIA sudah merancang untuk menggulingkan kerajaan Iran.
Ini termasuk laporan media Amerika, ABC News pada 2007 yang mendakwa CIA menerima kelulusan Presiden (George W Bush) melaksanakan operasi rahsia mengkucar kacirkan kerajaan Iran. Malah pada 29 Jun 2008, wartawan terkenal Amerika yang memenangi banyak anugerah kerana laporan berbentuk penyiasatan, Seymour Hersh, turut mendedahkan misi rahsia Amerika terhadap Iran. Beliau yang memetik kenyataan pegawai dan bekas pegawai agensi perisikan Amerika, tentera dan sumber Kongres mendedahkan persetujuan Kongres Amerika berhubung permintaan (bekas) Presiden Bush membiayai operasi sulit ke atas Iran.
“Permintaan itu membabitkan peruntukan kewangan kira-kira AS$400 juta (RM1.4 bilion), seperti yang terkandung dalam dokumen ditandatangani Bush. Matlamat utamanya adalah untuk menggugat barisan kepemimpinan ulama Iran,” lapor Hersh.
Sama ada dakwaan ini benar atau tidak, sukar disahkan dalam masa terdekat ini. Namun, berdasarkan apa yang berlaku di Iran sekarang, tidak mustahil kaitan itu ada rasionalnya.
Cuma, agak menyedihkan apabila secara tiba-tiba Neda seperti dijadikan alat merealisasikan dan mengukuhkan misi rahsia ini. Hampir seminggu lalu, media barat, khususnya yang berpengaruh seperti CNN, terus memaparkan laporan demi laporan menyokong usaha menjadikan Neda sebagai ikon penentangan. Ini termasuk menyamakannya dengan seorang pelajar Universiti Kent State yang ditembak mati anggota pengawal keselamatan kerajaan dalam satu bantahan anti Perang Vietnam pada 1970.
Tidak cukup dengan itu, diselitkan juga gambar lelaki yang berdepan kereta kebal tentera pada satu demonstrasi di Dataran Tiananmen, China. Anehnya, sikap ‘prihatin’ itu tidak pula dipaparkan media Barat sewaktu kematian aktivis keamanan Amerika, Rachel Corrie, yang mati digilis jentolak tentera Israel pada Mac, 2003. Corrie sanggup mempertaruhkan nyawanya mempertahankan rumah seorang doktor rakyat Palestin, isteri dan tiga anaknya daripada diranapkan askar rejim Zionis berkenaan. Malangnya, kematiannya cuma diratapi segelintir pihak.
Berikutan itu, sudah semestinya sikap pilih kasih media dan kerajaan Barat mengangkat isu yang ada kepentingan bagi pihak mereka, wajar dikecam. Dan persoalan siapa pembunuh sebenar Neda dan apakah motif menjadikan Neda ikon gerakan pembebasan Iran dan pejuang syahid, juga sukar dijawab ketika ini. Namun apa lebih penting adalah kemampuan kita melihat motif kejadian dan bukannya menelan bulat-bulat apa yang dipaparkan pihak Barat.
Terimakasih Berita Harian Online
Subscribe to:
Posts (Atom)